ความสำคัญของการเป็นผู้ว่าง่ายในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 216
หน้าที่ 216 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงความสำคัญของการเป็นผู้ว่าง่ายในพระพุทธศาสนา และความพินาศที่เกิดจากการไม่ดำเนินตามคำสอนของพระพุทธเจ้า กล่าวถึงบทคาถาที่เป็นแนวทางในการตระหนักรู้ถึงการเข้าถึงพระนิพพานและการถือปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้าเพื่อไม่ให้เกิดการสูญเสีย พระผู้มีพระภาคยังได้ตรัสไว้ในสูตรที่ย้ำถึงความสำคัญของการมีความตั้งมั่นในพระศาสนา และการเป็นผู้ว่ายากซึ่งนำไปสู่วิถีแห่งการเสื่อมสลาย ถ้าบุคคลมีความตั้งมั่นในการดำเนินชีวิตตามธรรม ในที่สุดจะเข้าถึงทุกข์และสุขในทางสัจธรรมได้ เมื่อดำเนินตามแนวทางของพระพุทธเจ้าแล้ว.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของการเป็นผู้ว่าง่าย
-บทคาถาในพระพุทธศาสนา
-การเข้าถึงพระนิพพาน
-ความแตกต่างระหว่างผู้ว่าง่ายและผู้วายก
-การดำเนินชีวิตตามคำสอนของพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๑ มังคลัตถทีปิ นี่เทปเสือ เล่ม ๔ หน้า ๒๑๖ จักถึงความพินาศอย่างใหญ่ บทคาถาว่า รวกสีวิลาวดีนา ความว่า ดูผูพลอค้ากำ ลถูกพวกผีสื่อประล้ำประโลมแล้ว บทคาถาว่า โลภุติปลาร์ คิมสนฺตุ ความว่า จักถึงพระนิพพาน โดยไม่มีอันตราย บทคาถาว่า อวเทนวา วาณิชา ความว่า ดูผูพลอค้าผู้ ฉันมวลลากหวาดกล่าวว่า “พวกท่านงามเริ่ม” แล้วทำฉันด้วยอังอรพระ ยามัวลากกัน. อธิบว่า เหมือนอย่างว่าพ่อค้าหล่านั้นไปฝังสมุทร ได้ถึงที่องตน ๆ แล้วฉันใด, นะทั้งหมดผู้ทำตามโอตถาของพระ- พุทธเจ้าเป็นต้น ย่อมถึงฝั่งแห่งสงสาร็พระนิพพานได้ ฉันนั้น เรื่องพ่อค้า มาในอรรถกถากาหลากลก. [๔๔๘] เพราะฉะนั้น บุคคลเมื่อลึกสุดโอตวานี้ พึงเป็น ผู้ว่าง่ายเกิน ไม่พึงเป็นผู้วายก อีอย่างหนึ่ง บุคคลผู้มีความตั้ง มั่นแห่งพระศาสนา ก็พึงเป็นผู้ว่ายโดยแท้ เพราะความเป็นผู้ว่า ง่าย ย่อมเป็นไปเพื่อความไม่เสื่อมสูญแห่งพระศาสนา ส่วนความ เป็นผู้วายก ย่อมเป็นไปเพื่อความเสื่อมสูญ. เพราะฉะนั้น พระผู้ม พระภาค จึงตรัสไว้ในสูตรที่ ๓ ในปฐมวรรค อุตตปนิซาสต์ ใน ปัญจกนิบาต อังคุตตรนิกายว่า “ ภิกขุทั้งหลาย ก็คำที่เราจะพู งกล่าวอย่างคืนนี้มีอยู่เอก. ภิกขุทั้งหลายอ่อนเป็นผู้ว่ายาก ประกอบ ด้วยธรรมเป็นเครื่องกระทำความเป็นผู้ว่ายา ไม่อดทน มีมิคุไม่ ๑. อง. ปณฺฑก. ๒๑/๔๕, ๒๐๐.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More