ความอดทนและขันติในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 185
หน้าที่ 185 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงความสำคัญของความอดทนและขันติในพระพุทธศาสนา โดยการอ้างอิงถึงบทความในอรรถกถาและสูตรต่างๆ เพื่อเน้นถึงความหมายและการปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมอารมณ์และการไม่ตอบโต้ต่อความโกรธ เพื่อสร้างจิตใจที่สงบและมีความสุข เช่นเดียวกับการหลีกเลี่ยงน้ำตาและความเกรี้ยวกราด เพื่อให้ได้มาซึ่งความเป็นผู้มีจิตใจที่เบิกบานและไม่พยาบาท สิ่งเหล่านี้เป็นวิธีการที่ทำให้บุคคลสามารถมีชีวิตอย่างสงบสุขในสังคม

หัวข้อประเด็น

-ความอดทน
-ขันติ
-อารมณ์และจิตใจ
-จิตใจสงบ
-การไม่โกรธ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคสัญลักษณ์นี้เป็นของเล่ม ๔ - หน้าที่ 185 พระปุณณเจริญและขันติวิทวัสิ ชื่อว่า ขันติ ด้วยประการฉะนี้ แม้ในอรรถกถาสังคดีสูตร ท่านก็กล่าวไว้ว่า "ความอดทน คือความอดกลั้น ที่พระผู้พระภาคตรัสไว้เช่นนี้ว่า "ไม่นมิติที่ ยกขึ้นตั้งไว้ว่า ขันติฉัน ขันติเป็นใน? คือ ความอดทน ความเป็น คือความอดทน ความเป็นคือความอดกลั้น ความเป็นผู้ไม่ร้าย การ ไม่ปลูกน้ำตา ความทื่อทีเบิกบานอันใด นี้ เราคำว่า ขันติ..." ถึกาสังสิตสูตรนั้นว่า "ความอดกลั้น" ชื่อว่า ความอดทน คือความเป็นอัปถรรธรรมซ้ำ และคำพูดชวนของชนเหล่าอื่นไว้เหนือดน อดทนโดยไม่ทำการโกรธตอบ ความไม่โกรธ ชื่อว่า ความเป็นผู้ไม่ คูร้าย การไม่ให้น้ำตาเกิดในยัยต์ทั้ง ๒ ของชนเหล่าอื่น ด้วยอำนาจ ความเกรี้ยวกราด ชื่อว่า การไม่ปลูกน้ำตา ความเป็นผู้ไม่เป็นของตน แห่งจิต ชื่อว่า ความเป็นผู้ใจกบกบาน คือความแห่งใจที่ไม่พยาบาท อันเป็นของตน ชื่อว่า ความเป็นผู้ใจเป็นของตน อีกอย่างหนึ่ง อารมณ์อันเนื่องด้วยจิต ชื่อว่า จิต ความเป็นผู้ใจเป็นของตน ด้วย ใจอันสุโขด้วยปีติ ซึ่งถือเอาโดยความเป็นธรรมชาติเบาแน่ เกิด ขึ้นในระหว่างแห่งตนนี้ ชื่้อว่า ความเป็นผู้ใจเป็นของตน. อีก อย่างหนึ่ง บุคคลมีใจเป็นของตน ความเป็นแห่งบุคคลมีใจเป็นของ ตนนี้ ชื่อว่า ความเป็นผู้ใจเป็นของตน. ความเป็นผู้ใจเป็นของ ตนนี้ หามิได้สัตว์ใดมา เพราะฉะนั้นนั้น เพื่อจะห้ามบุคคลเป็นต้น ท่านจึงกล่าวว่า แห่งจิต. ๑ สุ จ. ๓/๒๕๒๒. ๒ อภิ. ธรรม. ๑๓/๓๓๓.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More