ความสันโดษและปัจจัยในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 43
หน้าที่ 43 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสันโดษ ซึ่งเป็นคุณธรรมที่สำคัญในพระพุทธศาสนา โดยเน้นหลักการพื้นฐานว่า ความสันโดษเกิดขึ้นจากการยินดีในปัจจัยที่มีอยู่และความพอใจในสิ่งที่ตนเองมี การศึกษาถึงองค์ประกอบของสันโดษและบทบาทสำคัญของภิกษุในการแสดงความสันโดษ ผ่านการอ้างอิงตำราและพระอรรถกถา ทำให้เห็นถึงการดำเนินชีวิตที่มีความสุขและสงบในปัจจุบันเพื่อเข้าถึงความสงบสุขในจิตใจ

หัวข้อประเด็น

- ความสันโดษ
- ปัจจัยในพระพุทธศาสนา
- บทบาทของภิกษุ
- อรรถกถาเกี่ยวกับสันโดษ
- ความสุขในปัจจุบัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕ มังคลัดตา ปันนี้แปล เล่ม ๔ หน้า ๔๓ ถกว่าวด้วยความสันโดษ [๒๓] ความสันโดษด้วยปัจจัยตามมีตามได้ ชื่อว่า สนุตอจี ในนวว่า สนุตอจี นั้น พึงรวมบวชนี้ตั้งต่อไปนี้ บุคคลชื่อว่า เป็น ผู้สันโดษ เพราะยินดีด้วยปัจจัยตามมีตามได้ ก็ทว่า ส เป็นเพียง อุปสงค์ อีกอย่างหนึ่ง กล่าว ว่า ส นี้ ย่อมประกอบรสได้องค์ ๑ อย่าง คือ สันติ สม. เพราะเหตุฉะนั้น ในอรรถกาถามาตร ในปฐม- วรรค สุดานบุต พระอรรถกาถาร จึงกล่าวว่า " ถามูู" ชื่อว่าสันโดษ เพราะยินดีด้วยสันโดษ ๑๒ อย่าง อีกอย่างหนึ่ง ก็ชื่อว่า สนุตสโก (ผู้สันโดษโดย) เพราะ อรรถว่า ยินดีด้วยปัจจุบันของตน ยินดีด้วยปัจจุบันที่มีอยู่ ยินดีโดย สมํ เสมอ บรรดาอรร ๓ อย่างนั้น ปัจจัย ๔ ใด อนอุปฺมายนะแสดงใน มนุษยาที่บอกว่า "ปิฎทายโโลปน" นิสสลาย เป็นดัง อัน ตนเองรับแล้ว ปัจจัยนั้น ชื่อว่า สัน (ของตน) ภิกษุไม่แสดงวิกา ทังในวารรับ ทังในวารบาริโก ยงอัดภาพให้เป็นไปด้วยปัจจัย ๕ นั่น ที่หาไม่ดี ซึ่งทายถอยแล้ว โดยเหตุหรือไม่เหตุพิจารณะ พระผู้พระภาค ตรัสว่า ผู้สันโดษด้วยปัจจัยของตน. ปัจจัย ๔ ใด ย่อมเป็นของอัตตาได้แล้ว คืือมือแก่ตน ปัจจัย ๔ นั้น ชื่อว่า สนุตู่ (มีอยู่) ภิกษุใดอูด้วยปัจจัย ๔ นั้น ซึ่งมี * พระมหาเถร ยิโส ป. ธ. ๓ วัดสัมพันธวงศ์ แปล. (เพื่อเป็นพระเทพปัญญามณี). ๑. ปรมิตโชติกา สตนานิบาทวันฉน ๒๕๔.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More