การปรุงสูตรน้ำว้าในพระธรรม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 28
หน้าที่ 28 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการปรุงสูตรน้ำว้าและความหมายของศีลในพระพุทธศาสนา โดยเน้นถึงคำสอนของพระอรรถกาและการแสดงความบริสุทธิ์ของข้อปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับศีลและอาจารย์ นอกจากนี้ ยังได้นำเสนอความสำคัญของการเคารพและการมีสัมพันธ์ที่ดีกันในชุมชนศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การปรุงสูตรน้ำว้า
-ศีลในพระพุทธศาสนา
-บทบาทของอาจารย์
-ความบริสุทธิ์ในพระธรรม
-ความสัมพันธ์ในชุมชนศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

[๒๓๓] วีถีมหาอิสาปรุงสูตรน้ำว้า ในกล่าว เอกรูป สีเลน เป็นต้น พึงทราบวินิจฉัยดังนี้: พระอรรถกาอาจจะกล่าวว่าริตติสีโล ด้วย สีล ศัพท์ฯแสดงสัมมาวาจา สัมมามันตะ และสัมมาอาชิวะ ด้วย สีล ศัพท์ฯ นั่นแหละแสดงอาจารย์สีโล ด้วย อาจารย์ ศัพท์ฯแสดง กายสมาจารและวิถีสมาจารอนิบริทูดี ด้วย อาจารย์ ศัพท์ฯแสดง สัมมาปฏิบัติอันสูงเศษะด้วยสมะ วิปลาสนา และมรรคผล ด้วย ปฏิปcluded ศัพท์ฯ ด้วยคำว่ามา สฤษฏวา นี้ พระอรรถกาอาจจะ แสดง เหตุอันเป็นบุญแห่งศิลและอาจารย์คงกล่าวแล้ว. ด้วยบว่า เปลา นี้ พระอรรถกาอาจจะแสดงความบริสุทธิ์. ด้วยบว่า อุทิพรคุณา นี้ พระอรรถกาอาจจะ แสดงความบริสุทธิ์แห่งข้อปฏิบัติ พระ อรรถกาอาจจะกล่าวคำว่า วิจญญูมูลสฺสา ฐานํ กตนุญติ เพราะ ความที่อาจากฤาณสิลาเหล่านั้น เป็นผู้ขวัญขวยในเกียรติคุณของภิกษุ ทั้งหลายโดยมาก. ก็ยังเหล่านั้น เป็นผู้น่าลือใส่จริง ๆ ทั้งในพระ สังฆรรม ทั้งในพระสัมมาสัมพุทธะ. เหตุนั้น พระอรรถกาอาจจะ จึง กล่าวว่า "พุทธมานา ฉมุตมานา สงมุตมานา." จริงอยู่ ในวัดดู ทั้ง ๑ ชนทั้งหลายเลื่อมใสยิ่งในวัดดู ๑ ก็ชื่อว่า เลื่อมใสยิ่ง แม้ในวัดดู ๒ นอกจากนั้น เพราะความที่วัดดูทั้ง ๑ นั้นไม่มีการแยกจากกันได้." [๒๔๓] ส่วนบรรจิต ก็พึงเป็นผู้มีความคารวะกันและกัน ประดุจดังว่า ๑ สายณะนั้น. ๑. วรตตสีโล ได้แก่ ศีลที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม เป็นส่วนพุทธอาณา. ๒. อาจิตสีโล ได้แก่ ศีลส่วนจรรยาอันจะฟังประพฤติ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More