การสอนและธรรมในมังคลาคติบท มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 164
หน้าที่ 164 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการสอนจากพระเถรเกี่ยวกับความสำคัญของการไม่ยึดติดในความสำคัญของกิเลส และการฟังธรรมที่ลึกซึ้ง เมื่อพระพุทธรักษาได้ยึดถือคำแนะนำของพระอุปชฌายะในการปฏิบัติธรรม จนได้บรรลุพระครัสถาน การฟังธรรมแม้ในขณะนี้ก็ยังมีความสำคัญในอนาคต โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับผู้ที่มุ่งมั่นในการศึกษาและรับฟังธรรมอย่างแท้จริง.

หัวข้อประเด็น

-การสอนหลักธรรม
-ความสำคัญของการฟังธรรม
-การปฏิบัติสมาธิ
-การบรรลุธรรม
-เรื่องราวเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๑: มังคลิจฉาที่เป็นเปล เล่ม ๔ หน้า ๑๖๔ พระเถร กล่าวว่า "พุทธรักษาเจ็ดผู้มีอายุ คุณอย่าทำความสำคัญว่า กิเลแห่งบรรพดิของเราถึงที่สุดแล้วด้วยเหตุเพียงเท่านี้เดียว." พระพุทธรักษิท ต่านผู้ริญ กระผมจะทำอย่างไร? พระอุปชฌายะ คุณจงบรรเทาคณะ (หลักออกจากหมู่) ทำลายความเน้นช้าเสีย กระทำสมาธิธรรมเกิด. พระพุทธรักษิตนั้น ตั้งอยู่ในโอวาทของพระอุปชฌายะนั่นแล้ว กระทำอย่างนั้น ก็ได้บรรลุพระครัสถานพร้อมด้วยปฏิสันถาน. นี้เป็นความสังเขปในมังคลาคติบทนี้ ส่วนความผิดดาร พึงตรวจดูในอรรถกถามหาจักรสูตร. เรื่องสังจกนิครนธ์ จบ. แมรี่้องนมัททุกๆเทวตา ในปฏิญาณธารวินาวัด คีอารกล่าว. [๗๔] อย่าง กุลฉบับคน คิดว่า "ธรรมนี้สีซึ่ง ย่อมไม่แหลมแจ้งกระจ่างฟังอยู่" ดั่งนี้แล้ว ย่อมไม่ปรารถนาจะฟังธรรมอัน ลึกซึ้ง. ข้อั้น ไม่สมควร. เพราะว่า เมรธรรมอันสีซึ่ง ก็ครฟังแท้, มังจะมีสักว่ามี ก็ครฟัง. ด้วยว่า การฟังธรรมแม้ชนั้น ย่อมเป็นความถนัดในอนาคต. ก็ในข้ออื่น มุ่งเหลือเป็นต้น เป็นอุกฤษฎิ :- [เรื่องยุหล่อม] ได้รับว่า ในกาลแห่งพระพุทธเจ้าทรงพระนามว่ากัสสป งูเหลือบ ตัวหนึ่ง เมื่อถือเอานิมิตในเสียงของพวกกิษฏู นักอธิษฐานผู้ทักทอ ๑. ป. สุ. ๒/๒๓๓ ๒. สุ. ป. วิมาน ๒/๕๐ เป็นมณทุก.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More