ความเป็นผู้ว่าง่ายในมังคลคิด มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 204
หน้าที่ 204 / 239

สรุปเนื้อหา

ในอรรถกถาได้กล่าวถึงความเป็นผู้ว่าง่าย ว่าบุคคลนั้นถูกกล่าวถึงอย่างชอบธรรม โดยไม่ถูกกดกลั้นหรือคิดคุณและโทษ ซึ่งแสดงถึงความเคารพและความถ่อมตัว การอยู่ร่วมกับผู้อื่นเยี่ยงว่าง่ายมีคุณค่าทางจิตใจและสังคม กล่าวถึงในโววาสสุดา และอธิบายเพื่อสร้างความเข้าใจที่ลึกซึ้งในหลักธรรมนี้.

หัวข้อประเด็น

-ความเป็นผู้ว่าง่าย
-อรรถกถา
-โอวาทสุดา
-พระพุทธศาสนา
-คุณค่าของความเคารพ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มังคลคิดที่จะเป็นเปล เล่ม ๔ หน้า 204 ถกว่าด้วยความเป็นผู้ว่าง่าย* [๔๕] ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาว่า " ความเป็นอุบายบุคคล ผู้ถูกกล่าวอยู่อย่าโดยชอบธรรม ไม่ถึงความกดกลั้นหรือความเป็นผู้งี่เงย หรือการคิดคุณและโทษ กระทำมุ่งเพื่อ ความเคารพ ความถ่อมตัว อย่างเหลือเกินไม่องหน้า กระทำคำพูดดีล่ะ ดังนั้น ชื่อว่า ความเป็นผู้ว่าง่าย." ในบทว่า โอวาทสุดา นัน มีการอธิบายดังนี้: สุวโล โวส- อสุดา โวาสสุดา พึงทราบวินิจฉัยในคำนี้ ดังต่อไปนี้: บุคคลผู้อื่นเขาพูดว่าสุดาโดยง่าย ชื่อว่า สุวโล เจนาทที่เป็นไปด้วยอำนาจ ความเอื้อเฟื้อ ของบุคคลผู้ง่าย ชื่อว่า โอวาทสุดา ความมีอยู่แห่งบุคคลผู้ง่าย ชื่อว่า โอวาทสุดา เพราะเหตุนี้นั่น นอรรกถา ทุกในสังคตสูตร ท่านจึงกล่าวไว้ว่า " การว่าคล่าวได้ง่าย ในบุคคลผู้ถือรั้น ผู้นี้ในการชัดเจนผูไม่เอื้อเฟื้อนั้น มีอยู่ เหตุนี้นั่น บุคคลนี้ชื่อว่า เป็นผู้วาก. กรรมของบุคคลผู้อย่ามกัน ชื่อว่า โววาสสุดา ความเป็นแห่งกรรมของบุคคลผู่ายากนั้น ชื่อว่า โววาสสุดา ความเป็นผู้ว่ายากนั้น โดยเนื้อความ ก็คล้ายดังนี้. อาจารย์บางพวกกล่าวว่า ความเป็นผู้ว่ายากนี้ เป็นชื่อของมันตั้ง ๔ นี้เป็น *พระมหานาค อปนาโก ผ. ธ. ๕ วัดบรมวาส แปล. ๑. ปรมิตโกโชติฏฐา ทุกภาพปาฏิฉาณ ๑๒๕. ๒. ส. วิ. ๓/๒๕๔
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More