มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๔ หน้า ๔๙ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 49
หน้าที่ 49 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจคุณสมบัติของภิกษุที่แสดงถึงสันโดษที่แท้จริง ซึ่งรวมถึงการตรวจสอบบิณฑบาตและเสนาสนะที่เหมาะสมสำหรับพระอรหันต์ เน้นการที่จะไม่ยึดติดกับสิ่งที่ดีกว่า แต่อยู่ในสิ่งที่มีอยู่ การฝึกสมาธิและการพิจารณาคุณค่าของสถานที่เป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งจะช่วยให้ภิกษุอยู่ในเสนาสนะที่เหมาะสมและมีความสมดุลในชีวิต การค้นพบหลักธรรมในวงการศาสนายังช่วยสนับสนุนการพัฒนาทางจิตใจและจิตวิญญาณ

หัวข้อประเด็น

-คุณสมบัติของภิกษุ
-สันโดษในชีวิตของพระอรหันต์
-ความสำคัญของเสนาสนะ
-การบิณฑบาตที่เหมาะสม
-การฝึกสมาธิในเสนาสนะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๔ หน้า ๔๙ สมณธรรมอยู่ ย่อมเป็นผู้ซื่อว่าผันโดนแท้ อาการของภิกษุนั้นชื่อว่า ยกพลสันโดน ในนิบุตรบาตร ภิกษุรูปอื่น อีก ได้บิณฑบาตที่ประเสริฐ เธอคิดว่า "บิณฑบาตนี้ เหมาะสำหรับพระอรหันต์หลายผู้อนได้" และเหมาะสำหรับเพื่อนพรหมมรรวรัศเหล่าอื่น ที่นิบุตบา ประดิษฐ์นี้เสีย ไม่ยั่งอัตภาพให้เป็นไป" แล้วถวายบิณฑบาตนั้นแก่พระอรหันต์ เป็นต้นเหล่านั้น แล้วเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาตด้วยตน แม้บริโภคอาหารที่ลูกกัน ย่อมเป็นผู้ซื่อว่า สันโดษแท้, อาการของภิกษุนั้น นี่ชื่อว่า ยกพลสันโดน ในนิบุตบา. อึ่ง เสนาสนะ ย่อมถึงแก่ภิกษุในธรรมบาลนี้ เธอผันด้วย เสนาสนะนั้นเท่านั้น ไม่นับเสนาสนะอื่นมันที่ดีกว่า ซึ่งถึง (แก่ตน) อีก อาการของภิกษุนั้น นี่ชื่อว่า ยกพลสันโดน ในเสนาสนะ ก็ว่า ภิกษุนนั้น เป็นผู้อาพาธ, เมื่ออยู่ในเสนาสนะที่สิ่งลม ย่อมกระสันซ้าย เหลือเกิน เพราะโรคดีเป็นต้น เธอแม้วายเสนาสนะนั้นแก่ภิกษุผู้ ชอบพอกันแล้ว อยู่ในเสนาสนะอันโปร่งเป็น ซึ่งถึงแก่ภิกษุผู้อบพอ กันนั้น แม้ทำสมาธิธรรมอยู่ ย่อมเป็นผู้ชื่อว่า สันโดษแท้, อาการของภิกษุนั้น นี่ชื่อว่า ยกพลสันโดน ในเสนาสนะ ภิกษุอ้นอีก ย่อมไม่รับเสนาสนะดี แล้วถึงแล้ว (แก่ตน), เธอคิดว่า " ธรรมฅา เสนาสนะงาม ย่อมเป็นที่ตั้งแห่งความมาทมัก ฉะนั้น ถิ่นมิกระ (ความงามเหงา หวนอน) จึงครอบงำ แก่ภิกษ์ผู้อยู่ในเสนาสนะ ที่งามนั้นได้ และเมื่อกินนบั้น อันความหลับรบำบัดแล้ว กลับตื่น ขึ้นอีก วิถีทั้งหลายกามย่อมฟุ้งึ้น" ดังนี้ แล้วจงเสนาสนะงามนั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More