การฟังธรรมและการเป็นครูในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 172
หน้าที่ 172 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเล่าเรียนธรรมการฟังธรรมตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสไว้ ซึ่งเน้นความสำคัญของการเคารพ ความอ่อนตัว และความกตัญญู โดยใช้พระคาถาเป็นแนวทางในการศึกษาและการปฏิบัติ เพื่อเสริมสร้างความเป็นครูในสถานการณ์ที่เหมาะสม ทั้งนี้มีการอ้างอิงถึงพระบาลีและความหมายที่เกี่ยวข้อง ที่บ่งชี้ถึงการเข้าถึงและการฝึกฝนให้ได้ประโยชน์สูงสุดจากการเรียนรู้ภายใต้การสอนของพระพุทธเจ้า การสำรวจทั้งหลักการเหล่านี้ช่วยให้ผู้ศึกษาเห็นคุณค่าและความสำคัญในการเข้าถึงธรรมที่ถูกต้องและการถ่ายทอดความรู้ต่อไปยังผู้อื่น

หัวข้อประเด็น

-การฟังธรรม
-บทบาทของครู
-ความเคารพ
-การเรียนรู้ตามพุทธศาสนา
-พระคาถาและการศึกษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปรโยค ๕ - มิ่งคลิดาถี่นี้เป็นแปล เล่ม ๔ - หน้า 172 น ปริยายบุญดิ ความว่า แม้เล่าเรียนธรรมตามที่ฟังแล้ว ก็ย่อมไม่เล่าเรียนโดยคร พ. ถกว่าด้วยการฟังธรรมโดยกาล จบ. [๓๐๗] พระผูมพระภาค ตรัสสมงคล ๕ ประการ คือ ความเคารพ ความอ่อนตัว ความสนิทโดย ความกตัญญู การฟังธรรมโดยกาล ด้วยพระคาถานี้ ด้วยประกาศจะนี้ แม้คำเป็นคาถานี่ ก็เป็น ปั ยวัตร. ก็อาจอย่างบวก กล่าววา ในบทที่ ๓ น คว่าวมาสวด งี้ เพราะพระโบราณาจยกล่าวไว้ว่า " ปฏบรม ลภ สพุทธก" (อธบ ที่ ๕ ในบททั้งปวงเป็นลู) เหมือนอย่างว่า ในบทกาวว่า สพุทธ โฉติ คอญุติ นี้ พระผูมพระภาคทรงปรารถนาดัข ที่ ๕ เป็นครู เพราะลงมึกอดคาม ฉันใด แม้ในพระคาถาว่า กาลน ชมมสุขาว นี้ ก็ฉันนั้น พระผูมพระภาค ทรงปรารถนาฝึกอธิที่ ๕ เป็นครู เพราะทำส อักขร้อนกัน ๒ ตัว ก็เมื่อถือเอาความเช่นนั้น ก็เป็น อ คณะว่ามาสวด คำว่า ปฏบรม ลภ สพุทธก (อธบที่ ๕ ในบททั้งปวงเป็นลู) นี้ ท่านมใ้ได้กล่าวไว้ในกวดไทเลย. ก็เมื่ออาจยก่าวว่า ปฏฐาร ธ สพุทธ ภา (ในปฐฐารนัย เมื่อบทมีครูสั้น) ดังนี้ จึงปรารถนาปฐรนยที่เป็นปฐมเป็นครูส่วนในพุทธทิงวง, ในบทกาวที่ ๓ นั้น อธบที่ ๕ เป็นลู จักมีแต่ที่ไหน ? ในปฐฐารนัยนี้ว่า โมโม โค โค วิชุมมาลา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More