ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - มังคล dió ธีปา หน้า 208
คุณควรถึงในบุคคลนั้น " ดังนี้
[ ๔๕๐ ] อรรถถารอนุมานสูตรนั้นว่่า " บรรดาเหล่านั้น สองว่า อุปกติอนุมานคือ อนุสาสน์ ความว่า ผู้ได้อนุสาสน์กล่าวว่า เหตุการณ์ที่ว่า จึงพูดว่า ' พวกท่านว่ากล่าวผมเพราะเหตุไร? ผมรู้จัก สิ่งที่ควรและไม่ควร ที่มีโทษและไม่มีโทษ เป็นประโยชน์และมีประโยชน์ของตนได้,' ผู้นี้ ชื่อว่า ไมรับอนุสาสน์โดยเบื้องขวา ชื่อว่า รับโดยเบื้องซ้าย; เพราะฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ' มีโทษไม่รับ (อนุสาสน์) โดยเบื้องขวา."
ก็ฤทธอนุมานสูตรนั้นว่า " ผู้มีการรับโดยเบื้องขวาเป็นปกติ ชื่อว่า ปกฤติอนุสาสน์. ผู้มีปกติรับโดยเบื้องซ้าย หามได้ ชื่อว่า ผู้มีปกติไม่รับโดยเบื้องขวา. ขาวว่า วงดง แปลว่า ข้างซ้าย, อธิบายว่า โดยเรียงกันตรงข้ามจากคำกล่าวแล้ว."
บรรดาธรรมเหล่านี้ ธรรม ๑๖ ประการมีความเป็นผู้ปราศจาก ลามกเป็นต้น ชื่อว่าธรรมเป็นเครื่องจะทำความเป็นผู้ว่าง เขา เพราะเป็นเหตุจะทำความเป็นผู้ว่างอก ธรรม ๑๖ ประการมีความเป็นผู้ปราศจากน้อยเป็นต้น ชื่อว่า ธรรมเป็นเครื่องจะทำความเป็นผู้ว่างง่าย เพราะมีอัตตรงกันข้าม จากธรรมเป็นเครื่องจะทำความเป็นผู้ว่างนั้น. ธรรมทั้งหมดเหล่านี้ พิจารณาดูในอนุกรมสูตร
[ ๔๖๓ ] ก็ธรรมนดว่าง่าย ชื่อว่า ย่อมปฏิบัติเพื่อจะโทษทั้งของตนทั้งของคนอื่น เพราะฉะนั้น ความเป็นผู้ว่างง่ายของบุคคลนั้น
๑. ป. สุ. ๒/๙๗. ๒. ม. มู. ๑/๙๙.