มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๔ หน้า 97 มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 97
หน้าที่ 97 / 239

สรุปเนื้อหา

มังคลัตถทีนี้แปลในเล่มที่ ๔ หน้า ๙๗ พูดถึงพระศาสดะและความสำคัญของความเป็นผู้มากน้อยเพื่อการดำรงอยู่ของพระศาสนา โดยอ้างอิงถึงบทสมวรรคและความชื่นชมของพระศาสดะที่มีต่อภิกษุที่ปฏิบัติตนอย่างสันโดษและดีงาม เนื้อหายังกล่าวถึงการเงินทานที่เกิดขึ้นในสมัยนั้น พร้อมการเสวนาของพระศาสดะกับภิกษุ เพื่อชี้ให้เห็นถึงความหมายของการมีชีวิตที่พอเพียงและการไม่แสวงหาสิ่งที่ไม่จำเป็น มากไปกว่านั้นการดำรงมั่นแห่งพระสัทธรรมด้วยหลักธรรมที่ถูกต้องคือสิ่งสำคัญ.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของความเป็นผู้มากน้อย
-ความสำคัญของพระศาสดะ
-การดำรงอยู่ของพระศาสนา
-การแสวงหาอาหารและความพอเพียง
-การศึกษาในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๔ หน้า 97 [๑๔๒] มาลัยอัปปิญญาสูตรในบทสมวรรค เอกนิบาต อังคุตตร- นิทาย (มี) คันนี้ว่า " ภูษาทั้งหลาย ความเป็นผู้มากน้อย ( อ่อนเป็น ไป ) เพื่อความดำรงมั่นแห่งพระสัทธรรม" ดังนี้เป็นต้น เพราะเหตุนี้นภิกษุใดเพื่อความดำรงอยู่ได้แห่งพระศาสนา พึงเป็นผู้มากน้อย สันโดษ เหมือนพระนิคมวาสิตสละและกินหาดสบ ฉะนั้น [เรื่องพระศาสดะ] [๑๓๓] ได้ยว่า พระศาสดะ เป็นกุลบุตรในบังคม ซึ่ง ไม่ไกลจากกรุงสวาตดี บรรพชาขึ้น เป็นผู้มากน้อย สันโดษ เที่ยวไป บินนทบนาฏประจำอยู่แต่ในเรือนอนุญาติเท่านั้น ภิกษุทั้งหลาย กล่าวว่า " พระศาสดะนี้ อยู่ครอคติด้วยอุตมิกา เมื่อเทยกทั้งหลายมีท่านอนาถ- บินนทกะเป็นต้นถวายทานกวานดี เมื่อพระเจ้าโคสถวาสสีก็ถวายสักตะหนอ พระศาสดะ มีพระประสงค์จะประทานสาธุการแก่ท่าน รับสั่งให้เรียกท่านมา แล้วตรัสถามว่า " ข้าพระองค์ไม่ได้มา ด้วยคิดว่า " เราอาศัยพฤกษีเหล่านั้น ย่อมได้อาหารพอที่จะพึงกลิ่นกินได้, เมื่อเราได้อาหารพออัดทามาให้เป็นไปแล้ว จะประโยชน์อะไร ด้วยการแสวงหาอาหารอื่น." พระศาสดา ตรัสว่า " ดีละ ดีละ" แล้วตรัสว่า " ภิกษุ ทั้งหลาย ชื่อว่า ความเป็นผู้มากน้อยนี้ เป็นแบบแผนประเทหมงของเรา" ๑. อง เอก. ๒๐/๒๔.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More