คุณสมบัติของบัณฑิตในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 41
หน้าที่ 41 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สรุปคุณลักษณะของบัณฑิตในทางพระพุทธศาสนา ว่าบัณฑิตนั้นต้องมีศีลและคุณสมบัติอื่นๆ เช่น ความละเอียด, ไหวพริบ และความอ่อนโยนในการสื่อสาร โดยเน้นความสำคัญของการมีวาจาที่สุภาพและนอบน้อม ตลอดจนการไม่กระด้าง ซึ่งจะส่งผลให้บัณฑิตสามารถเข้าถึงความรู้และปัญญาได้ดีขึ้น

หัวข้อประเด็น

-คุณสมบัติของบัณฑิต
-ศีลและวาจาอ่อนโยน
-การมีปฏิภาณและไหวพริบ
-ความละเอียดในการแสดงออก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคที่ "บุคคลผู้เป็นบัณฑิตถึงพร้อมด้วยศีล ละเอียด มีปฏิภาณ (ไหวพริบ) ประพบกิริยาอ่อนตน และ ไม่กระด้างเช่นนั้น ย่อมได้สมด." [ แก้อรรถ ] อรรถกถาสิไลลักสูตรนั้นว่า "บรรดาบทเหล่านั้น บอกว่า ปุณฺณิโต ความว่า เป็นบัณฑิตในฐานะที่นอบอ้อมใจทั้งหลาย ข่าว สงูให้ ความว่า เป็นผู้ละเอียดด้วยการเห็นอรรถอธิบาย หรือด้วยภารกล่าว วาจาที่อ่อนหวาน. บทว่า ปฏิวนา ความว่า เป็นผู้มีไหวพริบ ด้วย ฐานะที่นอบอ้อมใจทั้งหลาย. บทว่า นิวุตตุตติ แปลว่า ประพบกิ ดำตน. บทว่า อฤฤุโตร ความว่า วันจากความเป็นคนหัวดื้อ." โยชนาว่า บทว่า "ทิสฺสนามสุขฺฐาน" ความว่า ผู้เป็นบัณฑิต คือผู้ลาดเลียมแหลมในเหตุที่นอบอ้อมคิดตามที่กล่าวแล้ว ที่คนเข้าใจ ว่านเป็นปัญญาเป็นผล (ผล) ย่อมได้เสม." ฤทธิาสิกขาสูตรนั้นว่า "ก็เห็นว่า สนฺโฐ สนุกฺโคน นี้ พระ อรรถกาถารย์ เพื่อจะแสดงว่า ปัญญาสมุขละเอียด วาจาอ่อนโยน ดังนั้น เพราะประกอบด้วยคุณอันละเอียดยิ่งกว่ากว่า "สมุท" ฯ ฯ คำว่า ทิสฺสนามสุขฺฐาน นี้ มีวิจินฉัยว่า บุคคลปฏิบัตอยู่โดยยีนที่กล่าวแล้ว ข้อว่า ย่อมให้วัดทั้งหลายตามที่ กล่าวแล้วด้วยญาณใด ญาณนั้น เป็นฐานะที่นอบอ้อมคิดพันหลาย ๑. ที่ ปวติ ๑/๕. ๒. ส. วิ. ๓/๖๒๕.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More