ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค๕- มั่งคลดีๆนี้นี้เท่าเล่ม ๔- หน้า๖๓
สันโดษ. ก็ ก็ญูเมื่อเข้าไปบิณฑบาต ไม่พึงคิดว่า "เราจักได้ ณ ที่ไหน ?" พึงไปด้วยพระกรมกุฏฐานเป็นใหญ่. นี้ชื่อว่า คมสนโดษ. เมื่อแสงหา ไม่พากญูดูพอร่าห์ไป พึงพากญูมีอารมณ์อ มิติส เป็นที่รักเท่านั้น ไปแสดงหา. นี้ชื่อว่า ปฏิสสนโดษ. ก็ญูเห็นอาหารที่นำมาแต่ไกล ไม่พึงยังจิตให้เกิดขึ้นว่า "นั่นน่าชอบใจ นั่นไม่น่าชอบใจ." นี้ชื่อว่า ปฏิสสนโดษ. ก็ญูไม่พึงคิดว่า "เรา จักรับบิณฑบาตที่น่าชอบใจนี้" จงไม่รับบิณฑบาตที่ไม่น่าชอบใจนี้" ดังนี้แล้ว รับบิณฑบาตอย่างใดอย่างหนึ่งแต่พออัดภาพให้เป็นไปเท่านั้น. นี้ชื่อว่า ปฏิคคนสนโดษ. อันนี้ ในการรับบิณฑบาตนี้ ไทยธรรมมีมาก, (แต่) ทายก ปรารภนาถวายย่อม, ก็ควรรับแต่น้อย. แม่ไทยธรรมมีมาก, ทั้ง ทายกิปราณจะถวายมาก, ก็ควรรับแต่พอดีเท่านั้น. ไทยธรรม มีไม่มาก ทายปรารภนาถถวายแต่น้อย, ก็ควรรับแต่น้อย. ไทย-ธรรมมีไม่มาก แตทยานปรารภนาถถวายมาก ก็ควรรับแต่พอดี เพราะว่า ก็ญูเมื่อไม่รับประมาณในการรับ ยอมงดจัดความ เลื่อมใงของความสุขเสีย ย่อมยังสร้างใจของให้หลกไป ย่อม ไม่ทำตามคำสอน ย่อมไม่อาจประกอบจิตแม้ของมงผิงเกิดเกล้า. ต่อรูประมาณแล้วจึงควรรับ ด้วยประกาศนะนี้ อาการอย่างว่า มานี้ ชื่อว่า มิตรุปฏิคคนสนโดษ. ก็ญูไม่ควรไปส่งกระดูกมังคลเท่านั่น พึงไปตามลำดับประตู นี้ชื่อว่า โลลูปวิรรชนสนโดษ. ยตาลกสนโดเป็นต้น มันยังดังกว่าแล้วในจารนเอง. การทราบ