สัตว์และความหมายในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 167
หน้าที่ 167 / 239

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้กล่าวถึงการตั้งคำถามเกี่ยวกับสัตว์ และการตรวจสอบคุณสมบัติของสัตว์ในบริบทของพระพุทธศาสนา เรื่องราวการบรรพชาในสำนักพระเณรและการเจริญวิสาสนา, และความสำคัญของอายตนะในพระธรรมคำสอน. มีการพูดถึงการตรึกตรองของผู้บรรพชา, รวมถึงเรื่องราวการเกิดใหม่ในพรหมโลก และความสัมพันธ์กับสัตว์ที่มีในอรรถกถา.

หัวข้อประเด็น

-สัตว์ในพระพุทธศาสนา
-การบรรพชาและการเรียนรู้
-อายตนะในความหมายพุทธ
-เรื่องราวของนางลุงลุง
-บทเรียนจากธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มงคลดำที่ปืนเล่า ๔ - หน้า ๑๖๗ เธอ จึงว่ากว่า " สัตว์เหล่านี้คืออะไร ? " พระเณร ตรวจดูคุณสมบัติแล้วเป็นบูรเหตุของชนสันนนั้นอยู่ ได้เห็นการฟังอาคตบถในกาก่อน คิดว่า " นั่นนั่นนะ เป็นอุปนิสัยของเขา " จึงกล่าวว่า " ผู้มีอายุ สัตว์เหล่านี้ชื่อว่า อายตนะ." อาทิตย์นั้น ได้ฟังว่าว่า " อายตนะ " ยังรีรอโลดปับะให้ตั้งขึ้นแล้วนั่งกระ โย่ยง ขึ้น พระเณร ได้ให้ผ้าถาบน่าน้ำแกะเธอ. เธอบรรพชาในสำนักพระเณร เรียนกันมูลฐาน เจริญวิสาสน บรรลุพระอรหันแล้ว. เรื่องงูเหลือม มาในฤดีก็มีริมทางสี. แม้เรื่องค้างคาวหนู ในอรรถกถาอัฐสาลี ก็ตวกกล่าว. [ เรื่องงงค้างคาวหนู ] [๘๔๕] ดังได้สันมา ในการแห่งพระ พุทธเจ้าทรงพระนามว่า กุสุมา แม้ได้ตัวหนึ่ง อยู่ในที่ใกล้อาสานกลา แม่นั้น ได้ฟังเสียงธรรมของภิญญาวีสานวารหนึ่ง ผู้สารยายวิสาสนา กัมมัฏฐานอยู่ ถือเอานิมิตในเสียงว่า " นั้นธรรม " ถูกหยิบยก ตัวหนึ่งฆ่า ดูแล้ว ก็เป็นราชกิจนิ มาว่า อุพรี บวชในสำนัก นางปรัชพิทักษ์หลาย. ในกาลต่อมา นางเข้าไปสู่จุฬฯ เห็นกลุ่มหนอนแล้ว ยังปุพวก- สัญญาให้กิดขึ้น ได้ปฐมบาน ดูดิจากอภาวนัม เกิดในพรหมโลก ดูดิภาพพรหมโลกนั้น เกิดในตระกูลเศรษฐี ต่อกลานไม่นานเท่าไร ก็ ดูดิ เกิดเป็นนางลุงลุง ในกรวงราชกุฎิ ในพุทธรูปมณฑลนี้. พระศาสดา ทอดพระเนตรเห็นนางลุงลุงนั้น จึงทรงแย้มพระ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More