ความอ่อนหวานและความบันเทิงในวาจา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 33
หน้าที่ 33 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงความอ่อนหวานในวาจาของบุคคลตามคำอรรถกถา โดยนิยามคำว่า 'สลิลา' ซึ่งแสดงถึงความเป็นผู้มีวาจาไพเราะและอ่อนโยน อรรถกถาและกีฏีกาให้ความสำคัญกับคุณสมบัติของการเป็นบุคคลที่มีความบันเทิงในวาจา และทำให้เกิดความบันเทิงโดยไม่มีโทษ เช่น การใช้คำพูดในเชิงชื่นชมและสร้างสรรค์ ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นหลักการที่ควรยึดถือในการสื่อสารและปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น ซึ่งจะนำไปสู่ความสัมพันธ์ที่ดียิ่งขึ้น.

หัวข้อประเด็น

-ความอ่อนหวานในวาจา
-สลิลา
-การสื่อสารที่สร้างสรรค์
-ความบันเทิงในความหมายทางภาษา
-อรรถกถาและกีฎีกา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค5- มังคละกีเลมินีเลน เล่ม ๔ หน้า ๓๓ คือ มีถ้อยคำมาซึ่งความบันเทิง ไม่มีโทษ ไพเราะ สีสอ อันชาวกีฎีกรีชนบันทรีว่า สลิลา." อรรถกถาพทุกนิบาต อังฤตตรนิยายว่า "ความที่บุคคลบั้นเทิงอยู่ด้วยสามารถอาจอ่อนหวาน ชื่อว่า ลลาย." กีฎีกทุกนิบาต อังฤตตรนิยายว่านั้นว่า "บุคคลผู้มาจอ่อนหวาน ท่านเรียกว่า สลิลา. ภาษะแห่งบุคคลผู้มาจออ่อนหวานนั้น ชื่อว่า ลลาย คือ ความเป็นผู้มาจออ่อนหวาน เพราะเหตุนัน พระอรรถกถาจึงกล่าวว่า สลิลา วาจาโรมันตาโก. จริงอยู่ ชื่อว่า ภาวะแห่งบุคคลผู้มานึ่งเทิงอยู่ ด้วยสามารถอาจอ่อนหวาน ชื่อว่า ความเป็นผู้มาจออ่อนหวาน." อรรถกถาสังสดิตุตวา "ความเป็นผู้มาจอเทิง ทั้งอ่อนโยน ชื่อว่า สลิลา." กีฎีกสังสดิตุตวา "ความเป็นแห่งบุคคลผู้มานเทิงเป็นผู้อ่อน โยน ชื่อว่า มทธว. คือ ภาวะแห่งมานเทิงและอ่อนโยน." "บาลีเทปปิอื่นว่า "ความเป็นผู้มาจออ่อนหวาน ความเป็น ผู้มาจอจากลมกล่อม ความเป็นผู้มาจอไม่หยาบคาย ในบุคคลนั้นใด, นี้ เรา เรียกว่า สลิลา." อรรถกถากลีณกบัปปัตวา " สองบทนั้นว่า ยา ต ตุ ค ค คือ ในบุคคลนั้นใด ความเป็นผู้มาจอเกลี้ยงเกลา ชื่อว่า สมนาวดต. ความเป็นผู้มาจออ่อนโยน ชื่อว่า สลาวดตา. ความเป็นผู้มาวจา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More