การบริหารกายและท้องในพระธรรม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 55
หน้าที่ 55 / 239

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้กล่าวถึงการบริหารกายและท้องด้วยวิธีต่างๆ เช่น การกรองน้ำและการใช้ผ้าสำหรับบริหารกาย นอกจากนี้ยังอธิบายถึงประเภทของผู้มีบริหารที่แตกต่างกัน โดยเฉพาะผู้ที่มีบริหาร ๔ และ ๖ ซึ่งมีวิธีการดูแลร่างกายและท้องอย่างเหมาะสมเพื่อสุขภาพที่ดี ข้อมูลนี้เป็นแนวทางที่ช่วยให้ผู้สนใจในการดูแลสุขภาพได้รับความรู้ในการดำเนินชีวิตได้ดีขึ้น สามารถเข้าดูเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การบริหารกาย
-การบริหารท้อง
-เทคนิคการกรองน้ำ
-ประโยชน์ของการตั้งสติ
-การดูแลสุขภาพด้วยธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มังคัดตานี้เป็นแปล เล่ม ๔ หน้า ๕๕ กาย ในคราวคาดเทียวไป เป็นเครื่องบริหารท้อง ในคราวดับอ่อย เป็นต้นถือไป แม้ผ้ากรองน้ำ ยอมเป็นเครื่องบริหารกาย ในคราวที่กรองน้ำด้วยผ้าสนานอับ และในคราวที่กรองน้ำด้วยผ้าฝน แล้วกระทำการประแรมเสนาสะ เป็นเครื่องบริหารท้อง ในคราวที่กรองน้ำดื่มและน้ำปานะ และในคราวที่ใช้บางวาสารและบัวมะเป็นต้น ด้วยผ้าฝนแล้วฉัน นี้ประมาณบริหารของผู้มีบริหาร ๔ เท่านั้น ส่วนบริหารมีบริหาร ๖ เข้าสู่ที่นอน (จะมี) เครื่องลาดสำหรับเสนาสะนั้น หรือถูกลูกฉกลิ่น ครอบผู้มีบริหาร ๑๐ (จะมี) ผ้าสีนทีหรือแผ่นนึ่ง กิ้วร. ภยนต์ผู้มีบริหาร ๑๑ (จะมี) ไม้ท่านแก่หรือทะนาน้ำมัน กิ้วร. ภยนต์ผู้มีบริหาร ๑๒ (จะมี) ร่มหรือรองเท้า กิ้วร. ในบริญาณนี้ ภูมิผู้มีบริหาร ๔ เท่านั้น ชื่อว่าผู้สนโดน นอกจาก ไหน ใคร ๆ ก็ไม่ควรกล่าวว่า ไม่สนโดย เป็นผู้มากเป็นผู้เสวงใหญ่ ภูมิเหล่านี้ทั้งหมด เป็นผู้มากน้อย สั้นโดย เลี้ยงง่าย มีความประพฤติบาใจเดียว.) [๒๐๗] ภูมิสูตรเหล่านี้ว่า "ท่านพระอธิการกาจารย์ เมื่อจะแสดงว่า การประมวลบริจราอนอันนี้เข้าในบริจร ๘ ย่อมได้โดยไม่แปลก ด้วยทั่วในทะมุทรว่าจิรและธินขาด เป็นเครื่องบริหารกายและท้องตามลำดับ จึงกล่าวคำอธิว่า "กุญแจนั้นทั้งหมด." บทว่า เอกัป เป็นต้น อธิบายว่า แม้ภูมิผู้บริหาร ๕ เป็นต้น ก็ชื่อว่าเป็นผู้มากน้อย สั้นโดยเหมือนกัน ด้วยว่า จะเป็นความมักมากหรือความไม่สนโดยอันบริจราเพียงเท่านั้นหามิได้."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More