ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๕ - มังคลดาภิธานีป็นเปล่า เล่ม ๔ หน้า ๑๔๘
ในเวลายังไม่พบคำแผนแล้ว ย่อมไปยังภูของพระอนุรุทธเถระ พระเถระแม่ทับ ๓ นั่งในที่นั้นแล้ว ถามปัญหากันและกัน ในปฏิฐ ๓ ปฏิฐใดปฏิฐหนึ่ง แย่ปัญหากันและกัน เม่อพระเถระทั้ง ๓ รูปนั้นสนทนากันอยู่ในเวลานั้น เทียว อรุณขึ้น พระอนุรุทธเถระหมายเอาการฟังธรรมโดยปกตินี้ จึงกล่าวคำนี้ว่า "ปฏิญาณกิจ โอ ปนะ เป็นต้น."
ภิฏฐุจูฬสุตตรว่า "สองกว่าต อนุญาต" คำว่า ทำการฟังธรรมในวันนี้แม่ทั้ง ๓ นั้นไม่ให้ซินสามารถการปฏิบัติ บทว่า เอ็ด เป็นคำตั้งคือว่า ปฏิญาณกิจ โอ ปนะ เป็นต้น.
การฟังธรรมในวันที่ ๕ เหตุนี้ จึงชื่อว่า ปฏิญาณกิจ (มีในวัน คำรับ ๕)."
[๒๘๔] อีกอย่างหนึ่ง บุคคลเข้าไปในกาลกิณีทรัพย์หลายแล้ว อาจเพื่อจะฟังธรรมอันจะบรรเทาความสงสัยของตนเสียได้ใน กลใด การฟังธรรมแม่ในกลนั้น พึงทราบว่า "การฟังธรรมโดย กาล." เหตุนั้น พระผู้มีพระภาค เมื่อจะแสดงธรรมแก่ภิกษุ ทั้งหลาย จึงตรัสไว้ในปาปฏิสูตรในทูติยวรรค ปฏิฏฐาณาสุ ในคติ นิบาต องคุตตรนิกายนว่า "ภูกษเข้าไปภิกษุผู้เป็นหนทางเสล่านั้นตลอดกาล โดยกาล ย่อมได้ถาม ย่อมสอบสวนวา ผู้เจริญ พระพุทธเจ้ามีองค์ไร ? ความแห่งพระพุทธองค์นี้องค์ไร ? ภูกษผู้เล่านั้น ย่อมเปิดเผยธรรมที่ยังไม่เปิดเผย ย่อมกระทำธรรม ที่รายงามได้กระทำให้จบแล้วให้จบ และย่อมบรรเทาความสงสัยใน ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความสงสัยอย่างมิใช่น้อย แก่ภิกษุผู้นั้น."
๑.อญ. ติก. ๒๐/๔๕.