การแปลและความหมายของคำสุขสวัสดิ์ฮากาในพระคาถา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 98
หน้าที่ 98 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการตีความคำสุขสวัสดิ์ฮากา และความหมายของพระคาถาที่เกี่ยวกับความมักน้อยในบริบทของพระพุทธศาสนา รวมถึงเรื่องราวของพระสีสสะฌะที่บรรลุอรหัตในที่แห่งหนึ่งในประเทศหิมพานต์ ตั้งแต่การไม่มีความทะเยอทะยาน จนถึงการอิ่มเอมในผลไม้และการบรรลุธรรมที่ยิ่งใหญ่ เรื่องนี้มีความสำคัญต่อผู้ศึกษาพุทธศาสนาและผู้ที่สนใจในพระคาถาและธรรมะ

หัวข้อประเด็น

-การตีความพระคาถา
-การบรรลุธรรม
-ความมักน้อยในพุทธศาสนา
-เรื่องราวของพระสีสสะฌะ
-ความสำคัญของผลไม้ในธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕๕- มังคลัตถทีนี้แปล เล่ม ๔ หน้า ๑๙๘ ดังนี้แล้ว คำสุขสวัสดิ์ฮากา แล้วคำว่า "ธรรมคาถิก" พึงเป็นผู้ มักน้อยเหมือนนิคมคามวสีสะเกิด แล้วคำสถอนในอัปปมาทวรรค ธรรมบาว่า "อุปปามาทโธ ภูญ" เป็นต้น. ในกาลบังกา พระสีสสะฌะ บรรลุผลอรหัต พร้อมด้วย ปฏิสังมิภาแล้ว. [เรื่องกันหดาบส] [๔๔] แม้นคณหดาบส ทำสัมชาช่างน้ำด้นหนึ่ง ในประเทศ หิมพานต์ ให้เป็นโจรคาม ไม่สร้างบรรดาศาลา อยู่ที่โคนไม้นั้นเอง. พระคาถานั้น มีความมักน้อยอย่างยิ่ง อยู่ ณ ที่นั้นเท่านั้น ไม่ไป ในที่อื่นแม้เพื่อผลในเวลาไม่ผิดผลักดัเกียวกันผล ในเวลาผล ดอกก็เกี่ยวกิ่นดอก ในเวลามีใบ ก็เกี่ยวกิ่นใบ ในเวลามีทะเลาะเปลือก ก็เกี่ยวกิ่นทะเลือก. ในวันที่หนึ่ง พระคาถานั้น เมื่อจะถือลเอผลไม้ตั้งหลายของ ต้นไม้นั้น ไม่ลูกขึ้นถือเอาในประเทศแห่งแทนหนึ่ง ด้วยความประะ- พฤติโล่ น้องที่เดินนั่นเอง เอื้อมมือไปเกี่ยวเอาผลไม้ซึ่งอยู่ ณ ที่ ประมาณกะนึง ไม่เลือกว่ารอหรือไม่รอใจ แม้ผลไม้ เหล่านั้น ถือเอาผลที่มาตึงเข้าเท่านั้น. ด้วยเดชแห่งสงของพระคาถาผู้ มีความสำเร็จโดยอย่างยิ่งอย่างนี้นั่น อาสนะของท้าวสักกะได้เกิดร้อนแล้ว. ประทานพรแก่ท่าน ทรงทำต้นไม้นั้น ให้มีผลไม้อร่อยแล้ว เสด็จไปยังสถานของตนตามเดิม.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More