มังกรกติกและโทษแห่งความมานะจัด มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 36
หน้าที่ 36 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับเจ้าสกะที่ถูกล้างผลาญภายใต้คำสั่งของพระราชา ความผิดพลาดและโทษของความมานะจัดในอดีต ระบบอำนาจที่ทำให้เกิดการสูญเสียทางร่างกายและจิตใจ เช่นเดียวกับการตระหนักถึงผลกระทบของอำนาจในราชสมบัติและบทเรียนที่สามารถเรียนรู้จากมัน มิตรภาพและการเชื่อฟังต่อคำสั่งมีบทบาทสำคัญในการป้องกันความพินาศ เหตุการณ์เกี่ยวกับปุริวะยะที่ปรัชญา และความสำคัญของการยอมรับข้อบกพร่องในชีวิตและการกลับใจ.

หัวข้อประเด็น

-มังกรกติก
-เจ้าสกะ
-ความมานะจัด
-พระราชา
-ปุริวะยะ
-อรรถกถา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๔ - มังกรกติกนี้นี่แปล เล่ม ๕ - หน้า ๓๖ ก่อน แต่เราได้ดำรงอยู่ในราชสมบัติแล้ว จักให้ล้างกระดานแผ่นนั้นด้วยโลหิตในอาณาจักรของเจ้าสกะเราหล่านั้น" ภายหลัง เป็นพระราชาแล้ว เสด็จไปทรงบิณฑบาสตุ์ ด้วยพฤติกรมเป็นอันมาก แล้วรับสั่งว่า "นาย ท่านหลายของมาชวนขานั้นว่ากองว่่า "เราทั้งหลายเป็นเจ้าสกะ" แต่ว่าไว้ชีวิตแก่เหลาชนผู้อยู่ในสำนักของพระเจ้ามากนะ ผู้เป็นพระเจ้าก็" ดังนี้แล้ว ก็รับสั่งให้พระนิยมว่ากองว่าก่อนทั้งหมด ตั้งแต่เด็กที่อยู่ดีในบ้าน แล้วให้ล้างกระดานแผ่นนั้น ด้วยโลหิตในอาณาจักรของเจ้าสกะเราหล่านั้น วงศ์เหล่าสกะห์ได้ถูกจุตุทูตพระราช- กุมารล้างผลาญเสียด้วยประการจะ. เจ้าสกะเราหล่านั้น ถึงความพินาศ ก็ด้วยสามารถแห่งความเป็นผู้มีมานะกระด้างโดยชาติก็ประกะรนี้นี้เป็นอ็ความผ่องในปกรณ์นี้ ส่วนความผิดสาร พิงตรวจในอรรถกถาปุปปวรรค ธรรมบท และในอรรถกถาที่สำนักใน ทวาสนะบาต. เรื่องเจ้าสกะยะ จบ. [ โทษแห่งความมานะจัด ] [๒๖] คืนนิชื่อนำบุคคลผู้นามว่ามานะจัด ยอมยังที่เกิดขึ้นแล้ว ให้เสื่อไปโดยถ่ายเดียว. ในบนี้น มีเรื่องต่อไปนี้ ( เป็นอุทาหรณ์):- [ เรื่องสุดังอจจงออกอยาเป็นราชพาร์สี่ ] ในอดีตกาล ปรัชญของพระเจ้าพาราณสี ได้เป็นผู้รู้มั่นคงชื่อ ปุริวะยะ มนต์สำหรับกลับใจ ท่านเรียกว่า "ปุริวะยมต์" * ชาดกฐากฎา. ๑๖/๕๕.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More