ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค๕ - มิ่งคดีที่มีแปลง เล่ม ๕ - หน้าที่ 133
อยู่ในแม่น้ำ อันบุคลคลยิ่งวางไว้บนบกย่อดีกว่า เพราะเหตุไร?
เพราะไม่แห้งนั้น ย่อมมือปาการะ เพื่อความงามยุคและภัณฑ์
เป็นต้นก็ได้ เพื่อฉองการใช้ผืนแก่ชะนผู้ก็สะกะสายอยู่ด้วย
ความหนาวก็ได้ เพื่อฉองการใช้บ้านอันตรายแม้เหล่านั้นได้
บาทคาดว่า น ตุวฬกุจิณี นรีร คำว่าส่วนระบาง-
คน คืองูชั่ว ผู้มีประทูร้ายมิด อตัญญ ศูนย์อันน้ำพัดไปอยู่ อัน
เราขี้มือ ยกขึ้นแล้ว ไม่ดีเลยทีเดียว. จริงอย่างนั้น เราขุณชั่ว
นี้ขึ้นแล้ว จึงได้ความทุกข์มา.
บรรดาผูชั่วเหล่านั้น เหล่าผู้เป็นบัณฑิต ได้ฟังคำนี้แล้ว
ถามว่า “ข้าแต่บรรพจิตผู้เจริญ มีคุณอะไร ที่ท่านได้ทำไว้แก่พระ
ราหาของพวกข้าพเจ้าหรือ?” พระโพธิสัตว์บัน บอกความเป็นไป
ทั้งหมดแล้ว
มนุษย์ทั้งหลาย ฟังคำนี้แล้ว โกรธว่า “พระราชอาณนี้เป็น
ผู้ประทูร้ายมิด ย่อมไม่รู้แม้ว่าแก้ของผู้ให้ชีวิตแต่ตน พวกเรา
คาถพระราชนี้ จึงได้ความสุขที่ไหน ? ท่านทั้งหลายจงจับมันไว้”
ดั่งนี้แล้ว ต่างก็พิพากษาลูกอี๋ขึ้นโดยรอบ ลำรึบโทษพระราชนั้น ผู้
ประทูร้ายบันดาลนั้นเอง ด้วยหลาว หอก ก้อนหิน และไม้ค้อน
เป็นต้น จับเท้าทั้ง ๒ ลากไปถึงพื้นจึง แล้วอธิษฐานพระโพธิสัตว์
(เป็นพระราชา). พระโพธิสัตว์บัน ทรงรองราชโดยธรรม เสด็จ
ไปยังที่อยู่ของ ๓ สัตว์อันเป็นต้นเหล่านั้น ทรงรับบิณฑบาต โกฎอัญญูและ
หนูอาวุแล้ว และพา ๓ สัตว์เหล่านั้นไป ในภายหลังรับสั่งให้ทำปล้อง