พระราชดำรัสของพระประทุม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 126
หน้าที่ 126 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเล่าถึงพระราชาที่ทรงสร้างโรงทานและการบำเพ็ญบุณย์ของหญิงชาวบ้านที่ขอทาน และบทบาทของหญิงนั้นในสถานการณ์ต่างๆ พร้อมกับการรับรู้ถึงความสำคัญของการให้ทานและการช่วยเหลือซึ่งกันและกันโดยมุ่งหวังให้เกิดความร่วมมือในสังคม สื่อถึงความสัมพันธ์ระหว่างพระราชากับผู้คนในรัฐ และการให้ความสำคัญกับการดำรงอยู่ของโรงทานในสังคม.

หัวข้อประเด็น

-พระราชดำรัส
-โรงทาน
-บทบาทหญิงในสังคม
-การให้ทาน
-ความสำคัญของบุณย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- มั่งคลอดนี้ปีนี้จะเปล่า เล่ม 4 - หน้าที่ 126 แห่งพระราชบิดา ทรงรับราชสมบัติ เป็นพระราชพระนามว่าประทุม รับส่งให้สร้างโรงทาน 6 แห่ง ได้ทรงสมทรัพย์ให้ทานวันละ 6 แสน ทุก วัน ฝ่ายหญิงชั่วนี้ แบบบูรฎวินดานั้นนาบออกจากป่า เที่ยว ขอทานไปในนิบินยู ยิ่งบูรฎวินดานั้นอยู่ ถูกมนุษย์ทั้งหมดหลายถามว่า "บูรฎวิน เป็นอะไรของแม่?" จึงกล่าวว่า " ดินินเป็นลูกสาวของลุง ของเขา, เขเปนลูก ขอของดิฉัน, ถูกทั้งหลายได้กินจินให้เขา นี้เลย, ดินินนั้น เลี่ยงสามีของตนแม่ผู้โตที่ควรม่า จึงได้เที่ยว ขอทานเลี้ยงดู" มนุษย์ทั้งหมดหลาย สำคัญว่า "หญิงนี้เป็นผู้นำเพ็ญ บวิดวัตร (วัดในสมาธิ) จึงให้บูลเทอและภัทรมากว่าแล้วและให้กระเช้า หวายอย่างแข็งแรง โดยบอกว่า " แบ่งให้สามีของแม่บังในกระเช้า นี้ไปไถ่" ฝ่ายหญิงชั่วนั้น ทำอย่างนั้น เที่ยวไปอยู่ ถึงเมืองพาราณสี เทียวบริบูรณ์ในโรงทานทั้งหลาย พระโพธิสัตว์ พระราชทานนาถาวัดแก่ออก 8 คนบ้าง 10 คน บ้าง ในโรงทาน ด้วยพระหัตถ์ของพระองค์ เมื่อเสด็จกลับ ไถ่ถอน พระเนตรเห็นหญิงนั้นในทางเสดิ จึ่งรีรกล่าวว่า "นั่นอะไร?" ราชบูรณ์ กราบทูลว่า "ข้าแต่สมเด็จเทพ หญิงผู้บำเพ็ญบัณฑิตศรหนึ่ง" ว่าเจ้ารับสั่งให้เรียกหญิงนั้นมาด่า เทียวไปอยู่ ถึงเมืองพาราณสี จากกระเช้าแล้วรีสถาม. หญิงนั้นได้กราบทูลโดยยกย่องนั้นเอง พระราชว่าสว่า "เจ้าใช่หรือ? เป็นบริขาของพระประทุม- กุมาร ซึ่งเป็นดีกาของพระราชาองค์ในนั้น มีชื่อโโน ดำโลดในเขา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More