ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - มังคลัตถิปีนี้แปล เล่ม ๔ หน้าที่ 51
[๒๕๕] อรรถกถาลามัญญสูตรเป็นต้น เห็นแปลกัน นิดหน่อย. เมื่อรรถกถาสมัญญสูตรนั้น ก็อาจตรวจกดู ในฎีกาสัญญสูตรเป็นต้น ท่านกล่าวไว้ว่า "ความสันโดษ ตามปัจจัยตามได้ คือปัจจัยสมควรแก่กองดน ชื่อว่า ยกถาลา- สันโดษ แมในสองบทที่เหลือ ก็มีมั่นนี้. ปีนี้ว่า ลาภ เพราะ อรรถาว่า อนันกุยอ่อนใด้. ลาภใด ๆ ชื่อว่า ลาภอย่างไร. ความ สันโดษด้วยลาภอย่างไร นั่นชื่อว่า ยกถาสันโดษ. ท้าวว่า พัล คือ กำลังกาย. บทว่า สารูปปี คือ ความพอเหมาะแก่ภักษ์. ชื่อว่า ความไม่ปรารถนาอันอื่นจากปัจจัยที่นได้แล้วอย่างไร พึงเป็นอกาสแห่งความประพฤติแม้เพื่อความเป็นผู้มันน้อย เพราะเหตุนั้น พระอรรถาถาย เมื่อจะแสดงความอย่า่งสันโดษ ซึ่งไม่ผิดแปลกไปจากความไม่ปรารถนาอันเท่านั้น ดังกล่าวว่า " ลาภฤดูปี น คุณสัตฺ" ในอรรถกถามงคลสูตรนี้ ท่านกล่าวว่า " อภาธิโก โหติ."
[200] ส่วนในอรรถกถาสัญญูสูตรเป็นต้น ท่านกล่าวไว้ว่า " กิฏิกิดใด เป็นผู้ทรงผลโดยปกติ หรือเป็นผู้ถอนอาพาธและชรา ครอบงำ กิฏินั้น. เมื่่อหมาเจิรหนา ย่อมลำบาก." สองบทว่า ตุ ปรติฏฐวา ความว่า เปลี่ยนจิรฉนั้นด้วยอำนาจ ประโยชน์ว่า " จิรหักไม่นำความฉลาดมาให้ และนำความลำบาก สรรมาให้ แก่กุฏิผู้ทรงผลโดยปกติเป็นต้น" หาได้เปลี่ยนด้วยสามารถแห่งความเป็นผู้มากมิได้. การใช้สอยจิรวาย่อมไม่เป็นการผิดสันโดษ เพราะเหตุนั้น พระอรรถาถาย จึงกล่าวว่า " ลุภก ยาเปนโตปี