การสนทนาธรรมและความมิดในภาคการศึกษา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 237
หน้าที่ 237 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงการสนทนาธรรมที่เกิดขึ้นในภาคที่เหมาะสม รวมถึงการกำหนดความมิดและการฟังชนะในภาคนั้น ๆ ท่านได้กล่าวถึงจิตที่หนุดในภกใด ซึ่งจะสามารถฟังชนะในภาคนั้นได้ และการสนทนาธรรมที่เกิดขึ้นภายใต้ความสามารถในการถามและแก้ปัญหา นอกจากนี้ ยังมีการเฉลยศัพท์ที่เกี่ยวกับการสนธิปและการใช้คำเด็ดเดี่ยวอย่างเหมาะสมในบทสนทนาเพื่อให้เข้าใจได้ง่าย อย่างเช่น สารตโต และอัสฏฺฏโต ที่ถูกนำมาอธิบาย.

หัวข้อประเด็น

-การสนทนาธรรม
-ความมิดในภาค
-การกำหนดจิตในภาค
-การถามปัญหาและแก้ปัญหา
-ศัพท์ในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค 5-5- มิงคลิคถ้าปืนเปล่า เล่ม 4 - หน้าที่ 237 ย่อมเลิกงานทุกอย่างในภาคใด เหตุนัน กาลนัน ถือว่า เป็นที่ เลิกงานแห่งชุทหลาย (เวลาพลบค่ำ)" บทว่า ปูญฺญส คือ ในภาคอันสงแล้ว. สมจริงดังคำที่ท่านกล่าวไว้ในภิกษาสดคัญคำว่า "อุด ฐาธุเป็นไป ในความกำหนด. กาลใด ย่อมกำหนดซึ่งความมิด เหตุนัน กาลนัน ชื่อว่า กำหนดความมิด (เวลายใกล้รุ่ง) คือ เนื่องต้นแห่งวัน." ท่านกล่าวว่าที่ ๒ ไว้ด้วยคำเป็นต้นว่า สิลนฺุธร ดั่งนี้ ก็เพื่อ แสดงว่า "จิตย่อมหนุดในภกใด ย่อมฟังชนะในภากใด และถูก วิจิกิจฉารอบงำ คือถูกวิจิกิจฉานั้นประทุษร้ายแล้วในภาคใด การ สนทนาธรรมแมในภาคนัน ๆ ชื่อว่า การสนทนาธรรมตามภาค." [๒๖๖] ส่วนในอรรถกถาจุตกนิบาต อัฏฐตรนิยก ท่าน กล่าวไว้ว่า "บทว่า กาลน ได้แก่ ในภาคอันเหมาะสมอันสมควร. การสนทนากัน อันเป็นไป ด้วยสามารถกรถามปัญหาและแก้ปัญหา ชื่อว่า การสนทนาธรรม." [๒๖๗] ก็มึอัจจอธรว่า สงกูล (แต่) ตรงว่า สงกูล ดังนี้ ก็เพราะทำลากนิคติ และทิมะสระในเบื้องต้น ดูในศัพท์ ว่า สารตโตเป็นต้น. เพราะเหตุนี้ ในสนธิป สัทธ์นิปกม์ ท่านพระอัครราชมารเทวะ จึงกล่าวสูตรพร้อมทั้งอาทรนไว้ ด้วย คำเป็นต้นว่า "เมื่อสนธิคิดเบื้องปลายที่ สศัพท์แล้ว ก็ทะสะตัน. อัสฏฺฏโต เป็น สารตโต, สาราโค ก็เหมือนกันอย่างนั้น." ๑ มโน. ปู. ๒/๔๙๘
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More