การฟังธรรมและปีติในพระพุทธศาสนา มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 153
หน้าที่ 153 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการฟังธรรมเป็นเหตุสำคัญที่นำไปสู่ปีติและปัญญาในพระพุทธศาสนา โดยชี้ให้เห็นว่าการมีความปีตินั้นส่งผลต่อความเจริญในจิตใจและสามารถนำมาซึ่งอานิสงส์ที่ดี การฟังธรรมทำให้เกิดการตระหนักรู้ถึงความสำคัญของธรรมชาติที่มีปัจจัยผลักดันต่อปีติ การเชื่อมโยงระหว่างการฟังธรรมและการเข้าถึงนิรวรณ์ได้รับการอธิบายในอรรถกถาอย่างชัดเจน ซึ่งถือว่าเป็นการแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการปฏิบัติตามธรรมเพื่อความเจริญในด้านจิตวิญญาณ.

หัวข้อประเด็น

- ความสำคัญของการฟังธรรม
- ปีติในพระพุทธศาสนา
- อานิสงส์ของการฟังธรรม
- การบรรลุถึงปัญญา
- ความเจริญในจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - มิ่งคลาดที่ปิ่นสเปล เล่ม ๔ หน้า ๑๕๓ มีในที่ใกล้ เพราะไม่มีโอกาสตั้งลง สองกว่า ตาม ปีติ ความว่า ชื่อว่า ไม่ละปีติอันเกิดขึ้นแล้ว ด้วยสามารถการฟังธรรมเป็นที่สบาย โดยกำหนดอาการอันเกิดขึ้นแห่งปีตินั้นในคราวนั้น เพราะในปีนั้น เกิดขึ้นบ่อย ๆ เหตุนี้ พระอรรถกาถาจึงกล่าวว่า ปัญญา นิ้วเทน วิชุมภูติว ดังนี้ สองว่า อทิ สนฺธาย ความว่า ธรรมมีปีติ นั้น ไม่เสื่อมอยู่ตลอดวันมีประมาณเท่าใด เป็นธรรมชาติได้ปัจจัยแล้ว ย่อมนำคุณวิบากมาตลอดวันมีประมาณเท่านั้น พระอรรถกาถาจึง หมายเอือน้อมความนี้ จึงกล่าวว่า ปัญญา นิ้วเทน ตสฺมิ สมเย น โหนตุ เป็นต้น คำว่า ปีติปุโปรมชุปปุจฉฯ เป็น ๆ นสนฺสนติ ความว่า ย่อมไม่ปรากฏ เพราะไม่เป็นไป ด้วยสามารถปัจจัยอัน เป็นสำคัญ แม้โพชงค์ที่เกิดขึ้นด้วยสามารถปัจจัยอันส่วนเสมอกัน พระผู้พระภาค ย่อมตรัสว่า "ในสมัยนั้น ย่อมถึงความเจริญเต็มที่ เพราะเป็นไปด้วยสามารถถึงกันให้สำเร็จ." [ อานิสงส์อาทิธรรม ] [๗๘๐] การฟังธรรม ย่อมเป็นเหตุให้บรรลุคาถานิรวรณ์ได้ ด้วยประกฤตนี้ ได้ยว่า พรหมนี้ประมาณ ๕๐๐ คน บวชแล้ว ย่อมไม่ไปเพื่อฟังธรรม ด้วยคำว่า " พระสัมมนาสมุทธาเมื่อครัส ด้วยโลภ จงนะ วิภติ บาท และพยัญชนะเป็นต้น จุตรเสสังที่เราช รู้แล้วนั่น ที่พวกเราไม่รู้ พระองค์จักตรัสอะไรได้?" พระศาสดา ทรงลดปะพฤติเดนตู่นั้น รับส่งให้เรียกพวกเธอ มาแล้ว เมื่อทรงแสดงว่า " เพราะเหตุไร เธอทั้งหลายจึงทำอย่าง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More