ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - มังคลัดคล้ายนี้เป็นแปล เล่ม ๕ หน้า ๑๓
ไม่ปรารถนาจะไปกิญจเจ้าของฉันพึงส่งพวกกิญจที่เหลือไปแล้ว จึงทำเธอ ไปเที่ยวบินทบ. พึงให้อมิสที่ตนได้มาแก้เธอ อามิสปฏิสนธิ ชื่อว่า อันกิญจทั้งแล้วโดยอกกทด ด้วยประการดังนี้ ถามว่า ก็อิญจผู้ปฏิสนธิพึงให้อามิสที่ตนได้มาแก่ใคร ? แก้ว่า พึงให้แก่กิญจอคันคุดะก่อน.
ถ้ากิญจให้หรือกิญจผู้ไม่มีพรหมมียอยู่ พึงให้แม่แก่กิญจเหล่านั้น. พึงให้แก่อาจารย์และอุปชฌายะ. พึงให้แก่คนผู้อื่นของ สำหรับกิญจผู้ บำเพ็ญสารานียธรรมพิ้งให้แก่กิญจอันตะกะผู้อื่นแล้ว ๆ ตั้ง ๑๐๐ ครั้ง ตั้ง ๑๐๐๐ ครั้ง ตั้งแต่ เธอสนงาม. องค์ อันกิญจผู้ปฏิสนธิพึงให้แก่กิญจนั้น ๆ ผู้อื่นได้. กิญจผู้ปฏิสนธิออกไปนอกบ้าน พบคนแก่ คนอนาถา หรือกิญจ พึงให้แม้แก่คนเหล่านั้น.
ในข้อนั้น มีเรื่องดังต่อไปนี้ (เป็นอุทธาหรณ์) :-
[ตัวอย่างผู้อำนาจสมบูรณ์]
[๒๓] ดังได้กล่าวมา เมื่อบ้านดูดคตาสามถูกพวกโจรปล้น พระเถรีบ่นาสูรปูหนึ่ง ออกจากนิรสมาบัติในขณะนั้นเอง ใช้นางกิญจสาขาให้อีกอ้อส่งของเดินทางไปพร้อมกับมหาชน ในเวลาเที่ยงถึงประตูบ้านนั่งคุณคร จึงนั่งพักอยู่ที่โคนไม้.
ในสมัยนั้น พระมหานาคเถระ ผู้อยู่ที่กวลลิมณฑป เที่ยวบินทบาดในบ้านนั่งคุณครแล้ว ออกจากพระเถรี จึงเอื้อถามด้วยภัณฑาร. พระเถรีนั้น กล่าวว่า " บาตรของดิฉันไม่มี." พระเถระกล่าวว่า " มโนตรันด้วยอธิษฐานนี้แลนะ" ดังนี้แล้ว ก็ได้ควายพร้อมทั้งบาตร.