ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๕- มังคลดึกสิถีในเป็นปลื้ม เล่ม ๔ หน้า ที่ 109
ธรรมไม่มีโทษทั้งหลายมีศีลเป็นต้น บทว่า ภาวนา ได้แก่ ด้วย
การให้เกิดขึ้น และด้วยการเจริญ บทว่า อนุปุพุทธ สงว่า
ผู้สันโดษ ด้วยอำนาจแห่งความท้อแท้ ด้วยคติว่า ด้วย
เหตุเพียงเท่านี้ก็พอ ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ก็พอ ความปรารถนาใน
การให้เกิดยิ่ง ๆ ขึ้น ชื่อ ภูมิโยมนุษฎ. "
[๒๕๔] อรรกถาคาถานิยกปกติว่า " ความไร้โดยเฉพาะ ชื่อว่า
ภูมิโยมนุษฎ. บุคคลบางในโลกนี้ เมื่อเน้นทีี่อ่อนโยน ยอมถวาย
ปีกวิตกกัลป์ (ภัตรประจำปี๕) บาง สถากับบ้าง เขาเป็นผูไม่สันโดษ
ด้วยการถาวรนี้ จึงถวายอุตวิต (ภัตรประจำ) สังมัก (ภัทรเพื่อสงฆ์)
ผำำนำพรรษา สร้างอาวาส ถวายปัจจัย ๔ เพิ่มขึ้น เป็นผูไม่สันโดษ
แม้ในกาารถวายเน้น ย่อมรับอรณะ สภาวนึก ยัง เป็นผูไม่สันโดษ
แม้ในกาทรทนิ่น ย่อมบวช ครั้นบวชแล้ว ย่อมเรียนณิภายหนึ่ง
๒ นิกาย พุทธวจนะคือพระไตรปิฎก ย่อมยังสมานิ ๘ ให้เกิด
เจริญวิปัสสนา ย่อมถือเอาพระอรหัต จำกินแต่บารมีวกุพระ
อรหต์ เขาย่อมชื่อว่าเป็นผู้สันโดษใหญ่ ก็ความไร้โดยอิทธินในพระ
อรหัตอย่างว่ามานี้ ชื่อว่า ภูมิโยมนุษฎ. "
อรรถกถาสังคดีสูตรว่า " ผู้บุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยความใคร่
อย่างยิ่งนั้น บำเพ็ญศีลแล้ว ย่อมยังมานให้เกิด ได้มาแล้ว ย่อม
ปาราธิปสานนา ปาราธิปสานแล้ว ถืออาพระอรหัต ย่อมไม่ถึง
ความหยุดเสนในระหว่าง."
๑.อุ. สต. ๕๓๐ ๒. ส. วิ. ๑/๒๒๔