มังคลติดาถิ่นนี้เป็นแปล มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 225
หน้าที่ 225 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาบทนี้กล่าวถึงความสำคัญของศิลธรรมและการเข้าใจธรรมชาติที่ไม่เที่ยงและการเห็นลักษณะของธรรม นอกจากนี้ยังพูดถึงความสามารถในการหลีกเลี่ยงกิเลสและการเข้าถึงความเป็นจริงที่สูงขึ้น พร้อมการฟังและการถามเพื่อเรียนรู้และพัฒนาจิตใจ โดยการเข้าใกล้สุดท้ายเพื่อสร้างความเข้าใจในหลักธรรมที่ถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-มังคลติดา
-ศิลธรรม
-พระนิพพาน
-การเห็นลักษณะ
-การรักษากิเลส
-การถามและการฟัง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค- มังคลติดาถิ่นนี้เป็นแปล เล่ม ๔ หน้า ๒๒๕ [๔๕๒] ภูมิใจชมคลังยูว่า " วาจาชอบ งานชอบ การเลี้ยงชีวิตชอบ ที่นับเนื่องในมรรครผล และธรรมทั้งหลายมี เตนาเป็นต้น ซึ่งอื่นจากสัมมาอาเป็นต้นนั้น อันถึงความขัดแกล้ ( กิเลส ) ชื่อว่า โลกุตรศิลของพระวินายสพ. ส่วนโลกียศิษ สันเนื่อง ในอภัยกุณฝ่ายกิริยา โลกียศิลนั้น ชื่อว่า จาริตศิล. กิวาริจิตศิล ไม่มีการเกิดขึ้นโดยแท้ เพราะไม่มีความเป็นไปด้วยสามารถการงดเว้น อารมณ์บางพากกล่าวว่า ศิลที่เป็นไปในส่วนนี้องค์ต้น ชื่อว่า โลกิศิล. การเห็นลักษณะเฉพาะตัวแห่งธรรมทั้งหลาย อัน ปัจจัยปรุงแต่ง ด้วยตรีรณปริญญา ( ปัญญาเครื่องกำหนดครูด้วยการ พิจารณา ) และการเห็นสามัญลักษณะมีความไม่เที่ยงเป็นต้น ด้วยตรีรณปริญญา ชื่อว่าการเห็นลักษณะฯ. จริงอยู่บุคคลเมื่อละอยู่ ชื่อ ว่าจ่อมเห็นลักษณะเหล่านั้น โดยอาการคือความเป็นธรรมอันบุคคล พิงจะ. การเห็นลักษณะอันแท้จริงแห่งพระนิพพาน ด้วยมรรคริจ และผลจิตดีดี การเนินธรรมที่ควรเว้นว่างด้วยมาน ด้วยมานจิตดีดี การเห็นปฏิเวธสันเป็นดัง ด้วยอาญญาณจิตดีดี ก็ชื่อว่า อาญทัสสนะ. เหมือนกัน. พระผู้พระภาค. ทรงพระประสงค์เอาจักทัสสนะ เพราะพระองค์ทรงถือเอาการฟังและการเข้าไปนั่งใกล้ไว้งานหน้า. บท ว่า ปัญหาาปฏิปสน. ได้แก่ การเข้าไปนั่งใกล้ด้วยอำนาจการถาม ปัญหา เพราะการถามทั้งสิ้นเป็นกิจอาญาเข้าไปหนสุดเดือน แล้ว ( สำเร็จด้วยการเข้าไปหา). เพื่อจะแสดงว่า 'การรรลังก์คุณ มีศิลเป็นต้นตามที่ตนได้ฟังมาแล้ว โดยการสำคัญก็คือไม่ต่างจาก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More