ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๕ - มงคลคำที่มีในเล่ม ๔ - หน้า 150
สมจริงดังที่ท่านว่าไว้ในถวายฎีกาสูตรว่า "ได้นิว่า ในกาลก่อน เมื่อพระผู้พระภาคยังไม่ทรงอุบัติิดดีทรงอุบัติแล้ว แตยังไม่สดับปรีภิทิพพากดี ท่านมีกำหนดดีที่ & ไว้อย แต่อยู่เมื่อพระผู้พระภาคเสด็จปรินิพพานแล้ว พระธรรมสั่งคาหกทะทั่งหลาย คิดว่า การฟังธรรม จะมีโดยกาลนาน. ดังนั้น จึงสมมติ ตั้งวันขึ้นมาสวาสนาว่า ปญฺญูจิตฺตา. จำเดิมแต่นั้นมา วันปุปมนี้นาง จึงเกิดเป็นวันอันท่านกำหนดแล้ว. (แต่) วันปุปมนี้นาง พระผู้พระภาคมีได้ทรงอธิบายในสูตรนี้ เพราะไม่เป็นไปในกาลทุกเมื่อ ด้วย ประการฉะนี้."
บทว่า อาจุกทุทลิ ส นี้ ย่อมได้แม้ในปิกทั่ง ๒. เหตุนัน ใน
กรรมกาถภิษฐานสูตรนั้นแหละ ท่านจึงกล่าวว่า "ราศีหนึ่ง เป็นที่เติมแห่งวัน ๑๕ คำ จำเดิมแต่นั้นนางแห่งปิก นี้ ชื่อว่า อาจุกทุทลิ.
วันปัญทุดสและวันอุฏฐาน ก็เหมือนกัน. บทว่า ปญฺญูสุ คือ แห่ง
สุกปิกข์และกัณฑปิกข์มี ๖ ราศี เพราะเป็นราศีที่ลำบังให้เป็น
ปิกขณะ ๑ ราศี, เหตุนัน ควรประกอบคำว่า ปิกข์ ในที่ทุกแห่งว่า
ปญฺญูจิตฺตา, ปญฺญูสุ ปญฺญูสุ, ปญฺญูสุ อุปมํ."
ฤทธิฤกษ์ในสูตรนั้นว่า " ข้อว่า ปรมิวโสตฺโต ปญฺญติ คือ จำเดิมแต่ว่า ปญฺญูจิตฺตาแรก." [๒๕] เพราะฉะนั้น การฟังธรรมแม้ในวันทั้งหลาย ๘ แห่ง เดือน ก็เชื่อว่า การฟังธรรมโดยกาล ดังนั้นแหละ. การฟังธรรมโดย
๑. ป. สุต. ๑/๑๒๔ ๒. ป. สุต. ๑/๑๒๓