มงคลดลกฏทั้งปวง: ความสำคัญของผู้มีบุญ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 122
หน้าที่ 122 / 239

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงความสำคัญของการมีบุญและความเป็นผู้สำคัญในชีวิต ซึ่งเชื่อมโยงกับมงคลและการทำบุญ ความมิมีและขันธ์ถูกวิเคราะห์อย่างลึกซึ้ง โดยอธิบายว่าความเป็นผู้สำคัญนั้นหาได้ยาก และให้คุณค่ากับบุคคลที่มีคุณธรรมและมงคลในสังคม โดยอ้างอิงถึงคำสอนของพระอาจารย์และหลักธรรมในการดำเนินชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของบุญ
-การวิเคราะห์มงคล
-ความมิมีในขันธ์
-หลักธรรมจากพระอาจารย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕ – มงคลดลกฏทั้งปวง เล่ม ๒ หน้า ๑๒๒ เป็นที่ไปในเบื้องหน้า เพราะความมิมีลักษณะดังกล่าวแล้วนั้นเอง เป็นที่ไป คือ เป็นทางที่ไป ได้แก่เป็นที่ตั้งสงในเบื้องหน้า คือง้างหน้า ของเขา ดังนี้แล ด้วย ตม ศพท์แม้ง ๒ พระอรรถกถาจารย์ กล่าว ความมิมีแห่งขันธ์เท่านี้ มิได้กล่าวความมิมีคืออธิธรรม, อึ่ง ใน บทว่า ขนฺฐตโม นี้ พึงเห็นความเกิดแห่งขันธ์นี้เป็นวินจากสมบัติธรรมเอง บุคคลชื่อว่า โชติ เพราะอ้อมรุงเรือง โดยความปรากฏนฺหุมเป็นต้นว่า เกิดในสกุลมังสังกในภายหลัง คำทั้งหมดนี้นั้นว่า ประกอบด้วยความ สว่างนั้น พิงทราบโดยยี่กว่ากล่าวแล้ว " ติฎฐานบุคคลบัญญัติว่า "บุคคลผูมิคาม มีส่วงเป็นที่ไปใน เบื้องหน้า ไม่อายผลบุญเป็นอยู่เลย ทำบุญทั้งหลาย เพราะฉะนั้น ท่านจึงก่าวว่า บุพพกริ" อนฺุญาว่า "ผู้อาศัยผลบุญเป็นอญ" ตั้งอยู่ในฝ่ายตนญาเหตุนี้ พระภูฏาจารย์ จึงกล่าวว่า ปุญฺญผล อนูปวีรณโต." ติฎฐานทุกนาม อิงตุตรนีวก คึเหมือนกัน. [๒๒] บุคคลผูสำคัญ ย่อมเป็นผู้หาได้อย่างนี้ บุคคล ย่อมเป็นผู้หาได้ยาก ด้วยส่วนใด, แม้ความเป็นผู้สำคัญ ก็หาได้ยาก ด้วยส่วนนัน้น ก็ความเป็นผู้สำคัญของบุคคลนี้ ย่อมให้จงความเป็น ผู้ควรสรรเสริญว่า บุคคลนี้ หาได้ยาก. เพราะเหตุนันแล ความ เป็นผู้สำคัญนั้น จึงชื่อว่า เป็นมงคล เหตุนั้น ในวรรณาคท่านจึง กล่าวว่า ความเป็นผู้สำคัญนั้น บันฑิตพึงทราบว่า เป็นมงคล อ. ปรมัตถโชโตภา ขทุกทปฺโชฎิณณา ๑๒๒
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More