มังคลฏีกา เล่ม ๔: ปัญญาโปรสถาน มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 81
หน้าที่ 81 / 239

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้กล่าวถึงความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์และการรักษาโอวาทในชุมชน โดยมีตัวอย่างจากปัญญาโปรสถานที่เคยดูถูกที่อยู่ของตนและถูกผลักดันให้ออกจากชุมชน และสรุปว่าความเป็นผู้มีมากควรรักษาให้ดี เพื่อไม่ให้เกิดการดูหมิ่นและการทะเลาะเบาะแว้ง การรักษาสุขในสังคมและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีจึงเป็นเรื่องสำคัญ.

หัวข้อประเด็น

-มังคลฏีกา
-ปัญญาโปรสถาน
-การอยู่ร่วมในชุมชน
-โอวาท
-ความเป็นผู้มีมาก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๕ - มังคลฏีกาปีนี้นี้เล่ม ๔ หน้า ๘๑ ปัญญาโปรสถานว่า "ข้าพเจ้าดูถูกฉัน (ละเลย) ที่อยู่ของตน ได้ไปสู่ที่ชุมชน เพราะความเป็นผู้มีมาก. ชนทั้งหลายออกจากบ้านนั้นแล้ว ฟากันโโย ข้าพเจ้าด้วยเกาทัณฑ์. ข้าพเจ้านั้น ศิระแตก มือวิบวะเป็นอันด้วยเลือด จึงกลับมาสู่ที่ตน เทวยอยู่ เพราะเหตุนี้ ข้าพเจ้าจึงรักษาโอวาท ขอความเป็นผู้มีมาก อย่าได้มาอีกเลย." [ แก้ธรร ] อรรถกถาชาดกว่า " บรรดาท่านเหล่านั้น นบว่า อติพยโนะ คือ ดูหมิ่น ได้แก่ คดีเดียอยู่. นบว่า โกฎกูฏเกน ได้แก่ คือ ด้วย คันธนู และด้วยไม้ค้อนทั้งหลาย. อรรถกถา"ทุกพระวิงค์ว่า "ข้าพเจ้าได้ไปสู่ชนนมชื่อ มดตะ." ภิฤทธิ์วิงค์ว่า "นบว่า อติพยโนะ แปลว่า ดูหมิ่นอยู่. นบว่า มดต ได้แก่ สุขบนที่ชื่ออย่างนั้น หรือสุกลแจ้ง. นบว่า โกฎกูฏเกน คือ ด้วยคันแห่งกานต์. บางอาจารย์ กล่าวว่า "ด้วยไม้ตะบอง." นบว่า ฤทธิรุมภูติ, โก แปลว่า มีตัวเลือด ติดแล้ว." เรื่องมี จบ. ถาว่าด้วยเรื่องแห่งการเป็นผู้มีมาก จบ. ๑. ชาดกฐากา ๘/๒๓๒ ๒. สมโภชวิณาที ๑๒๓.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More