ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยคฯ - มังลักษณ์ท่านนี้เป็นแปล เล่ม ๔ หน้า ๔๕
บทว่า อิติตรตรน ความว่า พระมหากัสสะะ ยินดีแล้ว ด้วยปัจจัย
ที่หยาบ ละเอียด เฉพาะงม ประณิธ ทน และเก่า อย่างใด
อย่างหนึ่งหาได้ โดยแท้ เป็นผู้นี้แล้วด้วยปัจจัยอ่อน ๆ คือ
ด้วยปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาปัจจัยทั้งหลายมิมีปัจจัยอ่อนใดแล้ว
อย่างไรเป็นต้น."
ภูมิภาสสังข์ว่า "อิติติรตรปัจจัย ในบทว่า อิติตรตรน นั้น
มี ๒ อย่าง คือ ปัจจัยเกิดขึ้นโดยปกติ ๑ ที่เกิดขึ้นด้วยญาณ ๑
บรรดาอิติติรปัจจัย ๒ อย่างนั้น พระอรรถกถาจารย์ งดปัจจัยที่เกิด
ขึ้นโดยปกติถิ แสดงแต่ชนิดที่เกิดขึ้นด้วยญาณอย่างเดียว จึงกล่าวว่า
น ฉลูชม เป็นกัน."
ภูมิภาสสังข์สูตรว่า "อิติตรตรปัจจัย ในบทว่า อิติตรตรน นั้น
มี ๒ อย่าง คือ ปัจจัยเกิดขึ้นโดยปกติ ๑ ที่เกิดขึ้นด้วยญาณ ๑
บรรดาอิติติรปัจจัย ๒ อย่างนั้น พระอรรถกถาจารย์ งดปัจจัยที่เกิด ขึ้นโดยปกติถิ แสดงแต่ชนิดที่เกิดขึ้นด้วยญาณอย่างเดียว จึงกล่าวว่า
น ฉลูชม เป็นกัน."
อิติตรตร สัทธ์นี้นั้น กล่าวถึงปัจจัยอย่างใดอย่างหนึ่ง แมบบรรดาปัจจัย
ทั้งหลายมิมีปัจจัยอ่อนตนได้แล้วอย่างไร้นั้น เช่น อิติตรตร สัทธ์
ที่กล่าวถึงปัจจัยทั้งหลายยานามเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง จะนั้น
เพราะกล่าวโดยไม่แน่นอนนั่นเอง ดังนั้น แปลว่าปัจจัย ๒ อย่างนั้น
พระอรรถกถาจารย์ เมื่ออเนทั้งความที่พระมหากัสสะะ ปรารถนา
ปัจจัยเฉพาะฝ่ายที่ ๒ เท่านั้น ในสูตรนี้ จึงกล่าวว่า "อทโถว เป็นกัน."
มีคำถามว่า "อิติตรตรปัจจัยทั้งหลาย แมตามที่ได้แล้วอย่างไรเป็นต้น