ความหมายของการสันโดษและไม่สันโดษในพระธรรม มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 108
หน้าที่ 108 / 239

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้ได้กล่าวถึงความหมายของการเป็นผู้สันโดษและไม่สันโดษตามพระธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสสอน โดยเฉพาะในบริบทของสัตว์ธรรมและคุณธรรมต่างๆ ที่สัมพันธ์กับการบรรลุถึงพระอรหันต์ ทั้งนี้เนื้อหาที่กล่าวมีการอ้างถึงฎีกาและสูตรต่างๆ ที่อธิบายถึงบทบาทของความวิริยะและองค์ครณิในแนวทางการปฏิบัติ.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของสันโดษ
-ความหมายของการไม่สันโดษ
-การเข้าถึงพระอรหันต์
-คุณธรรมในความสันโดษ
-ฎีกาและสูตรในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๕ - มิงคลัดถิ่นนี้ป็นเปล เล่ม ๕ - หน้าที่ 108 อสมโมสาย อนุตรษาณาย พิงทราบโดยนัยตรงกันข้ามกับคำที่กล่าวแล้วนั่นแล." ฎีฏกสูตรทั้ง ๒ นั้นว่า "ในนว่าวุฏุปฏิบุญนยนี้ พึงถือเอาเนื้อความ ด้วยคำเป็นต้นอย่างนี้ว่า เพื่อความไม่พินาค." [๒๕] ก็พระอรหันต์ทั้งหลาย พระผู้พระภาคตรัสหมายเอาความเป็นผู้สันโดษ และความเป็นผู้ไม่สันโดษ ในปัจจัยมีวิริยะเป็นต้น อนุตรษาถิ่นนี้ว่า "อนุฏฐจิต จ กุลสุต ธ มมง" เป็นต้น. [๒๕] ในอรรถกถาทุกนัยว่า องค์ครณินายนี้ ท่านกล่าวไว้ว่า "ความเป็นผู้ไม่สันโดษ ในคุณธรรมทั้งหลาย เว้นแต่การบรรลู พระอรหันต์ ชื่อว่า "อนุฏฐจิต." ฎีฏกตัิปนาสก์น่านั้นว่า "สองบ่าว องค์ครณิายนี้ว่า ว่า "ความเป็นผู้ไม่สันโดษ ในคุณธรรมทั้งหลาย เว้นแต่การเจริญคุณธรรมทั้งหลายใด. ฎีฏกาสังคติสูตรว่า "สองบ่าว กุลสาน ธมมาน คือ ซีง. อ. องุ. ทุ. ๒๐/๑๙๕. ๒ มิน. ปุ. ๒๐/๒๕. ๓ อิที. ส. ๑๘/๑๓๙๙.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More