พระเดชและการทำปฏิสันทํ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 4 หน้า 14
หน้าที่ 14 / 239

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงพระเดชที่ได้ทำภัตกิจและล้างบาตร รวมถึงการพูดถึงความสำคัญของการปฏิสันทํในพระพุทธศาสนา พร้อมคำสอนเกี่ยวกับการสงเคราะห์ของภิกษุในการทำหน้าที่ตามที่ควร ทำกิจเพื่อบรรเทาความรำคาญใจและเสริมสร้างความสงบในจิตใจ การปฏิบัติเหล่านี้ถูกเรียกว่า ธัมมปฏิสันทํ. นอกจากนี้ ยังมีการสนับสนุนให้อุปสมบทผู้ที่เหมาะสมและส่งเสริมธรรมะอย่างถูกต้อง

หัวข้อประเด็น

-ปฏิสันทํ
-ความสำคัญของการสงเคราะห์
-การอุปสมบท
-เรียนรู้หลักธรรมในพระพุทธศาสนา
-ต้นแบบของภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระเดช ทำภัตกิจเสร็จแล้วล้างบาตร ถวายแก่พระเดชกล่าวว่า "วันนี้" ท่านจัดลำบากด้วยภูมิจารก่อน ตั้งแต่วันนี้ไป ชื่อว่า ความเดือดร้อนด้วยภูมิจาร จักไม่มีแก่ท่านเลย คุณพ่อ" ตั้งแต่นั้นมา ชื่อว่า พินทบาทที่มีราคาถูกกว่าทาบนะหนีง ไม่เคยเกิดขึ้น แก่พระเดชเลย. นี้ชื่อว่า อามสปฏิสันทํ. [ ธัมมปฏิสันทํ ] ภิกษุทำปฏิสันทํานี้ พึงตั้งอยู่ในฝึกฝนแห่งการสงเคราะห์องค์ กัมมัฐานแก่กูนนั้น. พึงกล่าวสอนธรรม. พิงบรรเทาความรำคาญใจ. พิงทำกิจที่ควรทำอันเกิดขึ้น. พิงให้อภาน ฑุฏฐาน มานัต และปริ- วาส ฑ ผู้ควรบรรพชา พิงให้บรรพชา. ผู้ควรอุปสมบท พิงให้อุปสมบท. แม้มี่ยกญาณี ผู้หวังอุปสมบทในสำนักตน ก็จะทำกรรมวาจาได้. นี้ชื่อว่า ธัมปฏิสันทํ." ชื่อภิกษาใบผณะที่นว่า " สองบวกา สุภฤทก ความว่า อันภิญญู้ปรารถนาสงเคราะห์ท่าทันั้น ควรบอกให้, อธิษฐานา มิใชบอก ให้พระเหตุเฉพาะและสักการะเป็นต้น. การงานที่ควรทำโดยแท้คว- เป็นก็. นอกจากเป็นแค่กรณียะ: การออกรถอุบัติอีกนอกจาก เป็นวุปฐาน." [ อนามญญุติปทบาตรใหแก่ มาราคาปิ ] [๒๔] อรรถกถา๚สังหารวัดในตรียปราชาวิหาว่า " อนาท- มญญุติปานาคต ภิกษุพึ่งให้ แม้แก่มาราคาปิและบิดาก่อน. แม้ทาว่า ๑. สมุตฺ มหาวิกฺ. ๑/๕๖๖.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More