ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๑ มังคลติดตามนี้เป็นแปล เล่ม ๑ หน้า 61
ที่บุคคลนำวางไว้ที่ถนนเป็นต้น หรือที่ศาลพารักษ์ หรือที่บุคคลนำวางไว้แทบเท้า แล้วทำ ชื่อว่า สุตตสันโดษ ( สันโดดในคำ) ก็ในเวลาที่ผ้าดิฐ พิงสอยยิ่ง ๗ ครั้ง ในที่มีประมาณนั้นหนึ่ง ด้วยว่า เมื่อเธอทำอยู่อย่างนี้ ภูมิใจดู ไม่เป็นสหา แม้ว่าแต่ก็เกล้กไม่มี แก่ภิกษุนั้น แต่ในที่ประมาณ ๓ นิ้ว ก็จะสอยเย็น ๓ ครั้ง เมื่อเธอทำอยู่อย่างนี้ แม้ภิกษุผู้อื่นเดินทาง ก็พึงเป็นสหาแท้ ภูมิใจดูไม่เป็นสหา วัตถุกกะอ้อมมีแก่กุฏิ นั้นชื่อว่า สัพเพสันโดษ ( สันโดดใน การเย็น) ก็ภิกษุผู้อยู่ใน๖ ซี, วกก็ไม่ควรเทียวแสวงหาน้ำอ้อมไปรำ เป็นต้น เธอได้ยิ้วอ้อมอย่างใดบรณาอ้อมมีน้ำอ้อมไมพะออมขาว เป็นต้น ก็พึงย่อมด้วยน้ำอ้อมนั้น เมื่อไม่ได้ ( อย่างนั้น) พึงถือเอาน้ำ ย้อมที่พวกชาวบ้านถือเอาในป่าแล้วก็จะไว้ หรือกักน้ำอ้อมที่พวก ภิกษุอันไว้ แล้วจึงย้อม นี้ชื่อว่า รชชนโดย ( สันโดดในน้ำ ย้อม) การที่ภิกษุเอาสีเขียว สีเปือกตม สีดา สีลำ สีสล่า สังใส่ส่งหนึ่ง ทำกับปะ ( พินทุ) อันปรากฏอยู่แก่บุคคลผู้อื่นอยู่บนหลังช้าง ชื่อว่า กัปป- สันโดดในปะปะ), การใช้สอยด้วยสามารถพอปกปิดอวัยวะ ที่ยังความละอายให้กำริดาเท่านั้น ชื่อว่า ปริโภคนโดย ( สันโดดใน การใช้สอย)
พระมหาสติเชธะ กล่าวว่า " ก็ภิกษุได้ผ้าแล้ว แต่ยังไม่ได้ ด้ายหรือเข็มหรือผ้าที่จะเก็บไว้ก็ครา เมื่อได้ผืนเป็นต้น จะเก็บไว้ ไม่ควร แม้วีรที่ทำแล้ว ถ้าเธอประสงค์ให้แสวงธรรมนิมี อันเดวสิกเป็นต้น ก็อันเดวสิกเหล่านั้นยังไม่พร้อมกัน จะเก็บไว้