ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๕ - มังคีลกถาที่นี้เป็นเปล เล่ม ๕ หน้า 113
กล่าวว่าด้วยความกตัญญู*
[๓๑] ความรู้ปากะ อันผู้ใดผู้หนึ่งทำแล้ว น้อยหรือมาก ก็ ตาม โดยความระลึกนึงบ่อย ๆ ชื่อว่า กตัญญุตุ อีกบทหนึ่ง บุญ ทั้งหลายนันแล ชื่อว่ามีอุปการะมากแก่สัตว์ทั้งหลาย เพราะป้องกัน ทุกข์มีทุกข์ในร่างเป็นต้นได้ ; เพราะฉะนั้น ความระลึกอุปการะแม่ แก่บุญเหล่านั้น ก็พึงทราบว่า กตัญญุตุ บุคคลผู้กตัญญูในบทว่า กตัญญุตุ นั้น ย่อมเป็นผู้หาได้งอก. เพราะเหตุนี้ นิในสมุทรา แห่งตัปนิยาศ์ ในทุกบริบูรณ์ อังคุตตรณายะ พระผู้พระภาค จึงตรัสว่า "ภิภูทั้งหลาย บุคคล ๒ จำพวกนี้ หาได้งอกในโลก, ๒ จำพวกนั้น ใครบ้าง? คือ บุคคลผู้บูชาพระอุปการะ บุคคลผู้กตัญญู- กตัญญุตุ นั้น ๒ จำพวกนี้๚ อภิฤา ทั้งหลาย หาได้งอกในโลก" [๓๒] อรรถกถาทุกบริบูรณ์ อังคุตตรณายะนั้นว่า "บรรดา บุคคล ๒ จำพวกนั้น บุคคลผู้ถวายอุปการะก่อน ชื่อว่า บุพพากรนี่ บุคคล ผู้รู้อุปการะบุพพากรนั้นทำแล้ว ทำ (ตอบ) ในภายหลัง ชื่อว่า กตัญญุตุ ที่บรรดาคน ๒ จำพวกนั้น บุคคลผู้บูชาพระอุปการะก็ย่อม ทำความสำคัญว่า เราให้นี้ บุคคลผู้ทำกายหลัง ย่อมทำความ สำคัญว่า เราให้นี้"
* พระมหาเถร ยโส ป.ธ.๓ (บันนี้เป็นพระเทพปัญญาคุณี) วัดสัมพันวงศ์ แปล.
๑.อธิบายนี้ว่า ความระลึกอุปการะแม่แห่งบุญเหล่านั้น โดยป้องกันทุกข์ในนรกเป็นต้น ได้ไว้แล้ว ก็พึงทราบว่า กตัญญุตุ ๒.อัง. ทู. ๒๐๐/๙๙ ฉ. มโน. ป. ๒๑.