ข้อความต้นฉบับในหน้า
“These are the characters I extracted from the image:
ประโยค๙ - มังคลัตถทีปิรณิเลรม ๔ - หน้าที่ ๑๔๒
แสดงด้วยอภิคุปฎฐ์ที่ ๑ แห่งทุติยวรรณ ในปัญญาปณิธานาสฏฐกูนิบาต องค์ฤตนครินาย แท้จริง บุคคลผู้อัตถญู จะเป็นผู้มีฤๅเป็นที่ไปในเมืองหน้าแท้.
ในอ้อมานี้ มีเรื่องนี้ (เป็นอุทธาหรณ์):-
[ เรื่องพรานป่า ]
ในอดีตกาล พรานป่าชาวกรุงพาราณสีคนหนึ่ง แสดงหากเครื่องเร่งชีสำหรับตนอยู่ในห้วงวัตนา เวลาไหว้รำ คร่าวไป.
ในกาลนั้น พระโพธิสัตว์ [ เกิด ] เป็นช่างเฝ้าปลอด นามว่า พระอัสสนาวนา เพราะความเป็นสัตว์มีวินิ ได้ยินเสียงคำคร้อง ของบุรุษนั้น คันความกรุณาต่อเตือนแล้ว จึงให้พรานป่าขึ้นนั่งบนหลัง นำออกจากป่า ไปส่งให้ฉันมนุษย์แล้ว คำว่า “บุรุษผู้จิร” ท่านจงไปโดยทางนี้ ก็ท่านแม่ถูกใคร ๆ ถามถึงที่อยู่ของเรา จงอย่าบอกแก่ใคร ๆ”
ก็พรานป่านั้น เป็นคนมักประทุมันตา เป็นคนออกตบแต่งในเวลากินบนหลังพระโพธิสัตว์นั้นเอง ได้กำหนดคำเครื่องหมายออก ต้นไม้และภูเขาไว้ ถึงกรุงเทพฯ แล้ว พบพวกชาวนา กล่าวว่า “ผู้จิรฯ ท่านได้แม้งช้างเป็นแล้ว จะพึงรับไหม?” ได้ฟังว่า “ชื่อว่างช้างเป็น มีกวามมากกว่างช้างตาย” จึงถือเอาเสบียงและเลื่อยอันคม เข้าไปหา พระโพธิสัตว์ ของท่านแล้ว.
พระโพธิสัตว์ ให้พรานป่านั้นดงท่อตาปลาย ๒ ข้างแล้ว เอา
ฉ. ลง ค. ๒๑/๑๓๕.”