ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - พระธัมปัตริปฏิรูปาถา หน้า 9
ประพฤติประมาท ด้วยความประมาท มีการปล่อยสติเผยลักษณะ.
อธิบายว่า เหมือนอย่างว่า เครือเข่าถ่านทรายร้อนรัด รึริ่งตันไม้ไม่อยู่
ยอมเจริญเพื่อความพินาศแห่งดิ้นไม้นันในตัว, ต้นเหตกันนั้น ชื่อว่า
เถรีญเก่ากบุคคลนั้น เพราะอาศัยวาระทั้ง 6 เกิดขึ้นบ่อย ๆ
บาทพระคาถา โส ปริวัฏฐิ ธารุ่ง ความว่า บุคคลนั้น
คือผู้เป็นไปในคติแห่งตนหา ย่อมร้อนคือเล่นไปในน้อยใหญ๋.
ถามว่า "ขายอมร่อบไปเหมือนอะไร?" แล้วว่า "เหมือนรวนรตัว
ปรารถนาผลไม้ โลดไปในป่า" อธิบายว่า วานเมื่อปรารถนา
ผลไม้ ย่อมโลดไปในป่า, มันจับถึงไม้นั้น ๆ ปล่อยกิ้งนั้นแล้ว จับกิ้ง
อื่น, ปล่อยกิ้งแม้นั้นแล้ว จับกิ้งอืน ย่อมไม่ถึงความเป็นสัตว์ที่บุคคล
ควรกล่าวได้ว่า "มันไม่ได้กินยังงั้นแล้ว" ฉันใด, บุคคลผู้เป็น
ไปในคติแห่งตนหา ก็ฉันนั้น เหมือนกัน เรือนใจไปสูภาพใหญ่
ย่อมไม่ถึงความเป็นผู้ใด ๆ ควรพูดได้ว่า "เขาไม่ได้อมรมกันแล้ว
จึงถึงความไม่เป็นไปตามความทะเอะทะน."
บทว่า ยิ เป็นฉัน คำว่า ต้นหาความเป็นไปในทาง 6 นี้
ชื่อว่า สถาน เพราะความเป็นของชั่ว จังหวัดอันว่า วิสุตวิกา because
ความที่ตื่นนั้น เป็นธรรมชาตินำไป คือว่า น้องอยู่ในอารมมี
รูปเป็นต้น โดยความเป็นดอกอาหารเจือด้วยพืช โดยความเป็นดอกไม้
เจือด้วยพืช โดยความเป็นดอกผลไม้เจือด้วยพืช โดยความเป็นดอกเครื่อง
บริโภคเจือด้วยพืช ย่อมครองบำบุกเฉพาใด, ความโคล้ท้างหลายมัวมัว
เป็นมูล ย่อมเจริญยิ่งในภายในของบุคคลนั้น เช่นมูลงามดังฝัน