พระบรมปฏิทินถวายเปล่า ภาค ๙ - เรื่องปัญจักษ์ทายกพรหม พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 95
หน้าที่ 95 / 304

สรุปเนื้อหา

เรื่องราวเกี่ยวกับพระศาสดาที่ประทับอยู่ในพระเจดีย์และการถวายทานอันเลิศจากพระมหานั่น ที่มีชื่อและความหมายเชิงลึก แสดงถึงการถวายในเวลาและโอกาสต่าง ๆ ที่พระศาสดาทรงโปรดสัตว์และคำสอนของพระองค์เกี่ยวกับการถวายทานและการใช้ชีวิตในเส้นทางธรรม โดยเฉพาะการมองเห็นและเตือนสติให้รู้จักการไม่บริโภคสิ่งที่ไม่จำเป็น ทั้งนี้ทำให้ตั้งใจในการบำเพ็ญด้านอาหารที่ยั่งยืนและมีคุณค่า

หัวข้อประเด็น

-การถวายทานอันเลิศ
-คำสอนของพระศาสดา
-การสอนธรรมะในบริบทต่าง ๆ
-ความหมายของชื่อปัญจักษ์
-กระบวนการทำงานและการเก็บเกี่ยวข้าว

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประกอบ - พระบรมปฏิทินถวายเปล่า ภาค ๙ - หน้า ที่ ๙๓ 6. เรื่องปัญจักษ์ทายกพรหม น [๒๕๓] [ข้อความเบื้องต้น] พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเจดีย์ ทรงปรารถพรหมนมัสการชื่อปัญจักษ์ ตรัสพระธรรมเทศนานว่า "ลงุฟโล นามรูปสมิ" เป็นต้น. [เหตุที่พระมุนได้ชื่อปัญจักษ์] ดังได้กล่าวมา พระมหานั่น ข้อความท่านชื่อเต็กต้อะ: ในเวลาขันท้าวข้าวกล่อมตนเก็บเกี่ยวเสร็จแล้วนั้นแแล้ว, ในเวลาข้าวลาน ก็ถวายชื่อปัญจักษ์, ในเวลานวด ก็ถวายท่านชื่อดภัณฑ์ตัคคะ; ในเวลาเอาข้าวสารลงในหม้อ ก็ถวายท่านชื่ออุกลิตตคะ; ในเวลา ที่บดข้าวใส่ภาชนะ ก็ถวายท่านชื่อปูฏกะ; พระมหาน้อมถวายทานอันเลิศทั้ง ๕ อย่างนี้. พระมหานั่นชื่อว่า 'ยังไงให้' แก้ปฏิจกาให้หมดแล้ว ย่อมไม่บริโภค. เพราะเหตุนี้ เขาจึงได้ชื่อว่า "ปัญจักษ์กยาก" นั้นแแล. [พระศาสดาเสด็จไปโปรดพระมหั่นและพระยา] พระศาสดา ทรงเห็นอยู่เป็นเปลี่ยวเหงาพลัง ๓ ของพระมหานั่นและนางพระมหานั่นของเขา จึงได้เสด็จไปในเวลาบริโภคของพระมหนล์ แล้วประทับอยู่ที่ประตู, แมพระมหานั่น มายหน้าปากในเรือน * พระมหานิทร์ ป. ธ. ๕ วัดอมินาวาส (ปัจจุบันเป็นพระศาสดาสุ คุร วัดศรีจันทร์ จังหวัดขอนแก่น) แปล. ๑ ทานอันเลิศในนา ๑. ทานอันเลิศในสนาม ๒. ทานอันเลิศในถนน ๓. ทานอันเลิศในครัววนกร ๔. ทานอันเลิศในคราวเก็บข้าวสารลงในกระบาวะ ๕. ทานอันเลิศในคราวกาข้าวสารลงในหม้อข้าว
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More