การสำรวมในพระพุทธศาสนา พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 82
หน้าที่ 82 / 304

สรุปเนื้อหา

ข้อความนี้กล่าวถึงการสำรวมในด้านต่างๆ ตามคำสอนของพระพุทธศาสนา โดยเฉพาะการควบคุมมือ วาจา และจิตใจ เพื่อให้เกิดการพัฒนาหรือการฝึกฝนทางจิต ซึ่งมีความสำคัญในการดำเนินชีวิต เพื่อให้เป็นผู้ที่มีสัมมาทิฏฐิและตั้งมั่นในคุณธรรม โดยเฉพาะในบทพระจั้มปิฎกที่มุ่งเน้นในการควบคุมความคิดและการกระทำให้เป็นไปในทางที่ถูกต้องและไม่ทำอันตรายต่อสัตว์ หรือผู้อื่น.

หัวข้อประเด็น

-การสำรวมมือ
-การสำรวมวาจา
-การควบคุมจิตใจ
-แนวทางการใช้ชีวิตตามพระพุทธศาสนา
-ความสำคัญของการฝึกฝนทางจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม - พระจั้มปิฎกถอดคำแปล ภาค ๙ หน้า 80 [แก้ถอรณ] บรรดาบเหล่านั้น ว่า เหตุสงฺญิโต ความว่า ชื่อว่า ผู้มีมืออันสำรวมแล้ว เพราะความไม่มีกานอันมือเป็นต้น หรือกร ประทานสัตว์เหล่านี้เป็นต้นด้วย นัยแม้ในบทที่ ๒ ก็เหมือนกันนี้ ก็ ชื่อว่าผู้มีวาจาสำรวมแล้ว เพราะไม่ทำวิจิตร มีพูดเท็จทางวาจาเป็นต้น บทว่า คุญฺญตฺตกฺโถ คือ ผู้มัดอาพ้นสำรวมแล้ว อธิบายว่า ผู้ไม่ทำอการแปลก มีโคลงกา สังสีละ และยักคิว เป็นต้น บทว่า อญฺญตุตฺโถ ความว่า ผู้ฝืนในภาวะมุญฺญตญฺญมฺฐาน กล่าวคือ โคจรธรรมอันเป็นไป ณ ภายใน บทว่า สมา ฐิตฺโต คือ ผู้ถือถ้วนตั้งมั่นด้วยดีแล้ว สองบทว่า เอกฺโสงฺสุโต ความว่า เป็นผู้มุ่งต่อผู้เดียว ยินดีแล้วด้วยดี คือ มีเจตนินันแล้วด้วยอารมแห่งตน อํานินแต่ดาว ประพฤติในวิปสนา จริงอยู่ พระเสบาบุลลคุณทุกจำพว ตัง้น แต่กลายานุปฺปุน ก็ยอมดีด้วยอารมแห่งตน เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่าผู้นำสันโดบ ส่วนพระอรหันต์ เป็นผู้บดีแล้วโดยส่วนเดียวและ พระผู้มีพระภาคทรงหมายเอาพระอรหันต์นั้น จิตตสำนวว่า "เอกโณ สุนฺตุโค."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More