พระปิยมหาราชฉบับแปล ภาค ๘ - พระสันถวเกสร พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 118
หน้าที่ 118 / 304

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวกับพระสันถวเกสรซึ่งเป็นราชสีห์ที่มีคุณสมบัติพิเศษ เป็นผู้บิณฑบาตและมีอัตตาสงบ. พระศาสดาได้ตรัสเรื่องนี้เมื่อประทับอยู่ในพระเวสวัน นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการทำบุญและความเหมาะสมในชาติและเชื้อสาย. นอกจากนี้ยังเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามอุดมคติและการดำรงชีวิตอย่างมีวิจารณญาณ โดยเน้นว่าการกระทำที่ดีนั้นสอดคล้องกับหลักธรรมและการอยู่ร่วมกันอย่างมีสันติ.

หัวข้อประเด็น

-เรื่องราวของพระสันถวเกสร
-การบิณฑบาต
-พระธรรมเทศนา
-ความสงบและอัตตา
-แนวคิดเกี่ยวกับชาติและโคตร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระปิยมหาราชฉบับแปล ภาค ๘ - หน้าที่ 116 ๘. เรื่องพระสันถวเกสร [๒๖๐] [ข้อความเบื้องต้น] พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเวสวัน ทรงปรารถพระสันถวเกสร ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า "สนุกโกย" เป็นต้น. [พระสันถวเกสรนี้เกิดเป็นราชสีห์] ดังได้กล่าวมาชื่อว่ากระนอนมือและเท้าของพระสันถวเกสรนั้น มีได้แล้ว ท่านได้เป็นผู้ขับขานการบิณฑบาต เป็นผู้มีอัตตาสงบ. ได้ยินว่า พระสันถวเกสรนั้น มาจากกิงแผ่นราชสีห์. นัยว่า ราชสีห์ทั้งหลาย ถือเอาอาหารในวันหนึ่งแล้ว เข้าไปสู้กิน ถ้าทอง ถ้าแก้มินี และถ้าแก้วประพาฯ ถ้าได้กินหนึ่ง นอนที่ฐานแห่งโนศิล และหราดตลอด ๓ วัน ในวันที่ ๓ ลูกขึ้นแล้ว ตรวจดูที่แห่งตน นอนแล้ว, ถ้าหัวนจรุงแห่งแล้วในโลสีละหราดกระจายแล้ว เพราะความที่ทากู หรือท่านอัตตาสีแล้ว จึงคิดว่า "การทำเช่นนี้ ไม่สมควรแก่ชาติหรือโคตรของเจ้า" แล้ว ก็ออกจากอาหาร ไปเกิดตลอด ๓ วัน แต่เมื่อไม่มีความที่รู้นั้น หลายๆกระจายไป จึงคิดว่า "การทำเช่นนี้ สมควรแก่ชาติและโคตรของเจ้า" ดังนี้แล้ว ก็ออกจากที่อาศัย บิดาย ชาเลืองจตุเทคทั้งหมด บันลือสีหนา ๓ ครั้ง แล้วก็คลิกไปหากิน: ภิกษุนั้นแล้วโดยกามานแร่งราชสีห์เห็นปานนั้น. * พระมหาอรันทร์ ป. ธ. ๕ วัดบรมวนาราม [ปัจจุบันเป็น พระพิศาลสารคุณ วัดศรีจันทร์ จังหวัดอุบลฯ แปล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More