พระอัมปิฏกปัญญา - ภาค ๙ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 60
หน้าที่ 60 / 304

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการทำบุญและการถวายธรรมทาน โดยเน้นว่าธรรมทานนั้นถือเป็นสิ่งที่ประเสริฐที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นๆ ในพระพุทธศาสนา พระอัมปิฏกแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการฟังธรรมและการปฏิบัติตามหลักธรรมที่พระบรมศาสดาได้สอน ธรรมทานนั้นคือการมอบความรู้และความเข้าใจในธรรมชาติต่างๆ เพื่อเป็นการลดทุกข์ทุกชนิด และให้อานิสงส์ที่ยิ่งใหญ่

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของธรรมทาน
-การถวายและการทำบุญ
-การฟังธรรมและการปฏิบัติ
-หลักคำสอนของพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอัมปิฏกปัญญาจากแปล ภาค ๙ - หน้าที่ ๕๘ เป็นต้นปราชญ์หราทั้งหลายแล้วทำบ้าง เพราะเหตุไร? เพราะว่าชันทั้งหลาย เมื่อจะทำบุญเห็นปานนั้น ต่อพึงธรรมแล้วเท่านั้นจึงทำได้. ไม่ได้ฟัง ก็ทำได้ไม่; ถ้าว่าสัตว์เหล่านี้ไม่พึงฟังธรรมใช่ไหม, เขาไม่พึงถวายบ้วยถวายปัจจัยบ้าง ถาดประมาณทัพพีหนึ่งบ้าง; เพราะเหตุนี้ ธรรมทานนั้นแหละ จึงประเสริฐที่สุดกว่าเท่านทุกชนิด. อีกอย่างหนึ่ง เว้นพระพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าเสีย แม้พระสาวกทั้งหลายมีพระสารีริกธาตุเป็นต้น ผู้ประกอบด้วยปัญญา ว่าน สามารถหยาดน้ำได้ ในเมฆฝนตกลงคับไปทั้งสิ้น ก็ยังไม่สามารถถวรรถูโศตปิดผิดเป็นต้น โดยธรรมดาของตนได้; ต่อพึงธรรมที่พระอัสสชิระเป็นตนแสดงแล้ว จึงทำให้แจ้งซึ่งโศตา- ปิดผิดผล, และให้แจ้งซึ่งสมนิยมบำรุงพระธรรมเทณ ของพระศาสดา; เพราะเหตุนี้มั่น มาหารพิจารณ์ธรรมทานนั้นแหละ จึงประเสริฐที่สุด. เพราะเหตุนี้นั่น พระศาสดา จึงตรัสว่า "ลพพาทน จนมณฑกน ชินาติ." องค์ รังสรรค์เกิดแต่ลำตนเป็นต้นทุกชนิด โดยส่วนสูงไม่น่าส่ง สุขาโภชนาของเทวดาทั้งหลาย ยอมเป็นปัจจัยแห่งการยังสัตว์ให้ตก ไปในสังสารวัฏ แล้วเสวยทุกข์โดยแท้. ส่วนพระธรรมสกลกล่าวคือ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More