พระรัฐม์ภัทรบัณฑิตฉบับแปล ภาค ๘ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 102
หน้าที่ 102 / 304

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้กล่าวถึงการสั่งสอนพระสูตรต่าง ๆ ที่มีการสาธุการในสังคมพระพุทธศาสนา เรื่องราวเกี่ยวกับเทพและมหาอุบาสิกา ตลอดจนการกระทำของพระเณรที่มีความสำคัญและส่งผลให้เกิดการให้สาธุการในอารมณ์ร่วมของผู้มาฟัง การตอบคำถามระหว่างเทพกับมหาอุบาสิกาที่ขยายความเข้าใจลึกซึ้งในศรัทธาและการทำบุญในพุทธศาสนา การสัมภาษณ์ระหว่างเทพและผู้หญิงในเรื่องราวนี้ยังสร้างความสนใจเกี่ยวกับความสำคัญของเสียงสาธุการในบรรยากาศแห่งการภิญโญในศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาพระสูตร
-การสาธุการในพระพุทธศาสนา
-บทบาทของเทพและมหาอุบาสิกา
-อารมณ์ร่วมในสังคมศาสนา
-ความสำคัญของศรัทธา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระรัฐม์ภัทรบัณฑิตฉบับแปล ภาค ๘ หน้าที่ ๑๐๐ พระสูตรหมดด้วยกัน ๑๖ สูตร โดยท่านองสรภัญญะที่จัดเป็นอุบัฏภ์-วัดก็แหละ ครั้งนั้น พระผู้พะภาค เมื่อจะทรงอธิษฐานเป็นพิเศษ จึงได้รับทาสบาระกัณฑ์ในเวลาจบอธิษฐานว่า "คืออ ฤๅ ภิกขุ" ภูมิภัฏฐพดา นาค และสุวรรณ ฟังสาธุการที่พระศาสนา ประทานแล้ว ได้ให้สาธุการแล้ว เสียงสาธุการเป็นอันเดียวกัน ได้มี แล้วอดอาหารโลกอย่างนี้ ด้วยประการดังนี้ ในขณะนั้น แม้เทพดาอยู่ในเรือนของมาหาบ ศิกา ผู้เป็น มารดาของพระเณร ในกุฏิธรรมนคร ในที่สุด (ไกล) ประมาณ ๒๑๐ โอษฐ์ แต่พระเณรวันมหาราน ก็ได้ให้สาธุการด้วยเสียงอันดังแล้ว ครั้งนั้น มหาอุบาสิกา ถามเทพดานั้นว่า "นั่น ใครให้สาธุ- การ ?" เทพบ. เราเอง น้องหญิง. มหาอุบาสิกา. ท่านเป็นใคร ? เทพบ. เราเป็นเทพดา สิงขออยู่ในเรือนของท่าน. มหาอุบาสิกา. ในกาลก่อนนี้ นั่นมีให้สาธุการแก่เรา เพราะเหตุไร ? วันนี้ จึงให้. เทพบ. เรามีให้สาธุการแก่ท่าน. มหาอุบาสิกา. เมื่อเป็นเช่นนั้น ท่านให้สาธุการแก่ใคร ?
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More