พระมหากษัตริย์และพระเมกิฎิญฺญในพระพุทธศาสนา พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 201
หน้าที่ 201 / 304

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการประชุมที่จิทธจักร โดยพระมหากษัตริย์ทรงตรัสธรรมเทศนาถึงพระเมกิฎิญฺญ และการสนทนาเกี่ยวกับความผิด, ศราระ รวมถึงคำถามที่ท้าวสักกเทวราชทูลเกี่ยวกับพระภิกษุในอากาศ และการตอบของพระตถาคตซึ่งชี้ให้เห็นถึงปัญญาทางธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การประชุมธรรมเทศนาที่จิทธจักร
-พระเมกิฎิญฺญและพระมหากษัตริย์
-ความสำคัญของปัญญา
-การสนทนาระหว่างท้าวสักกเทวราชและพระตถาคต
-บทบาทของพระภิกษุในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระมหากษัตริย์เมื่อประทับอยู่ที่จิทธจักร ทรงปรารภพระเมกิฎิญาติ ตรัสธรรมเทศนาว่า "คมภิรปญฺญ" เป็นต้น. พระเมกิฎิญฺญพบทั่วสักกะ ความผิด ศราระ ในวันหนึ่ง ท้าวสักกเทวราช เสด็จมา กับ เทวบริษัท ในระหว่างแหงปฐมยาม ประทับนั่งดับธรรมกถอัน เป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึงอยู่ ในสำนักงานศศตา. ในขณะนั้น พระเมกิฎิญฺญ มาต้วยคำว่า "จักเผาพระ ศาสตรา" เห็นทั่วสักกะแล้ว ยืนอยู่ในอากาศนิ่ง ถวาย บังคมพระศาสดาแล้วก็กลับไป. ท้าวสักกะ ทอดพระเนตรเห็นพระเมกิญฺญานั้นแล้ว ทูลถามว่า "พระเจ้าภิกฺขุเน้นชื่ออะไร ? มายืนอยู่ในอากาศนิ่งเอง ถวายบังคมพระศาสดาแล้วก็กลับไป." [ลักษณะแห่งพราหมณ์ในพระพุทธศาสนา] พระตถาคต ตรัสว่า "มหาบพิษ ภิกฺขุนี้เป็นธิดาของ อามภาพ ชื่อเขมา เป็นผู้มีปัญญามาก ฉลาดในทางและมิใช่ทาง" ดังนี้แล้ว ตรัสพระคาถานี้ว่า:- "เรายึดหยิบมีปัญญาลึกซึ้ง เป็นปราชญ์ ฉลาด ในทางและมิใช่ทาง บรรลุประโยชน์สูงสุด นั้น * พระมหาชนี ป. ช. ๓ วัดบรมวิวิาส แปล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More