พระอิฐบรรทุกถูกผุแต่งภาค ๙ - ความสำคัญของการพูดจา พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 221
หน้าที่ 221 / 304

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับการพูดจาที่ไม่ควรมีคำหยาบคายหรือคำที่ทำให้ผู้อื่นเจ็บปวด โดยมีการยกพระคาถาที่สอนให้ผู้คนพูดจาอย่างระมัดระวังและเป็นมิตร ปรัชญานี้มุ่งเน้นให้ทุกคนเห็นความสำคัญของการใช้ถ้อยคำที่ดีเพื่อไม่ให้เกิดความไม่พอใจแก่ผู้อื่น การใช้คำพูดที่มีคุณค่าและจริงใจช่วยสร้างสรรค์สังคมให้ดีขึ้นได้ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงการบรรลุธรรมซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้จากการปฏิบัติตามคำสอนดังกล่าว

หัวข้อประเด็น

-การพูดจาที่ดี
-คำพูดและผลกระทบ
-การบรรลุธรรม
-การใช้คำพูดที่มีคุณค่า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอิฐบรรทุกถูกผุแต่งภาค ๙ - หน้าที่ 219 คำระคายรุน คำหยาบคายมันเทียม ชื่อว่าย่อมไม่มีแม้พระฉัตรนาสพ เพราะ ว่าบุรของเรากล่าวออกอย่างนั้น ด้วยอาณาจักแห่งความเคยชิน เมื่อจะ ทรงแสดงธรรม จึงตรัสพระคาถานี้ว่า: "ผู้ใด พึงกล่าวอื้อคำอันไม่ระคายดู อินจะรู้กันได้ เป็นคำจริง อันเป็นเหตุไม่ยังใคร ใคร เรียกผู้นั้นว่า เป็นพรหมฉบับ." [แสดงความคิดเห็น] บรรดาบทเหล่านั้น ว่า ออกจากสู้ ได้แก่ คำไมท์ยะม ว่า วิญญาณปี ได้แก่ ให้รู้เนื้อความกันได้. ว่า สละ ได้แก่ เป็นเนื้อความอันจริง. ว่า นาคสินะ เป็นนั้น ความว่า บุคคลไม่พึงรู้บุคคลลื่น ให้ช่องใจด้วยอาณาแห่งการให้เขาโกรธ ด้วยถ้อยคำอันใด, ธรรมดา พระฉัตรนาสพ พึงกล่าวถ้อยคำเหล่านั้นนั่นและ; เหตุนี้นั้น เราจึง เรียกผู้นั้นว่า เป็นพรหมฉบับ. ในกลบทเทศนา ชนเป็นอันมาก บรรลุอร่อยผลทั้งหลาย มี โสดาปิตผลเป็นฉัน ดังนี้แล. เรื่องพระปลิวว่านวังเถอะ จบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More