การเข้าใจพระธรรมและการพ้นทุกข์ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 54
หน้าที่ 54 / 304

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจการเข้าใจพระธรรมและการพ้นทุกข์ที่เกิดขึ้นจากการใช้ความรู้ในตนเอง โดยกล่าวถึงการทำความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมที่อยู่ในภูมิแตกต่างกันและการดำเนินชีวิตที่อยู่ในกรอบของพระธรรม นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการไม่ต้องอ้างอิงผู้อื่นในการเข้าถึงความรู้ รวมถึงการมีวิมุตติที่เป็นของตนเองและแนวทางในการพัฒนาจิตใจให้พ้นจากทุกข์ ผ่านการรักษาธรรมและรู้เท่าทันธรรมชาติในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-การเข้าใจพระธรรม
-การพ้นทุกข์
-การใช้ความรู้ในตนเอง
-ภูมิธรรมต่างๆ
-ความสำคัญของการไม่อ้างอิงผู้อื่น

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประกอบ - พระธรรมปาทิฏฐุ ถูกถอดแปลง ภาค ๙ - หน้าที่ 52 อย่าง ไม่ติดอยู่ในธรรมทั้งปวง ละธรรมได้ ทุกอย่าง พ้นแล้ว ในพระธรรมเป็นที่สิ้นสุดไป แห่งตนหา รู้เองแล้ว จะพึงอ้างใครเล่า ? (ว่าเป็นอุปัชฌายาอาจารย์)." [แก้วรถ] บรรดาบทเหล่านั้น น ทว่า สุผภกิฏ ศู คือ ครอบงำธรรมอ่อน เป็นไปในภูมิ ๓ ได้ทั้งหมด ทว่า สุผพวิฑู ศู คือ ผู้มีธรรมอันเป็นไปในภูมิ ๔ ทั้งปวง สองบทว่า สุผพูพส ธมเมษ ควา ว่า ผู้ต้านทานและทฏฐิ ทั้งหลายบานเบิ้ด ในธรรมอันเป็นไปในภูมิ ๓ แม้ทั้งสิ้น. บทว่า สุพเพญใจโอ คือ ผู้ละธรรมอันเป็นไปในภูมิ ๓ ทั้งหมด ดำรงอยู่. สองบทว่า ตนทุกขู ญเมตโต คือ ผู้พ้นแล้วในเพราะ พระอรหัต กาลวัตธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตนาก ที่ตนให้ดำเนิน แล้ว ในที่สุดแห่งความสิ้นไปแห่งตนานา ด้วยวิมุตติอันเป็นของพระอเจสะ. สองบทว่า สย อภิญญาย คือ รู้ธรรมต่างด้วยอิฏฐโยธธรรม เป็นกันได้เองทีเดียว. บทว่า กมุกถิเตสยู ย ความว่า เราจะพึงอ้างใครเล่าว่า "นี่เป็นอุปัชมนหรืออาจารย์ของเรา."
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More