พระธัมมปทุตตถูปปล้า ภาค ๔ - เรื่องบรรพพิธี พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 163
หน้าที่ 163 / 304

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหน้าที่ได้กล่าวถึงบรรพพิธีในพระพุทธศาสนา ซึ่งพระศาสดาได้ตรัสถึงความหมายของคำว่า 'บรรพพิธี' ผ่านพระธรรมเทศนา โดยชี้ให้เห็นถึงการปฏิบัติและความสำคัญของความประพฤติที่เรียบร้อย ในบริบทของผู้ถือศีลที่มีความมลทินและการปฏิบัติศาสนาอย่างเคร่งครัด การสนทนาระหว่างพระศาสดากับพรหม และการชี้แนะเกี่ยวกับการมีบาปและการเป็นสมณะที่มีความเป็นอยู่ที่ดี นอกจากนี้ ยังมีการเรียกบุคคลที่มีการประพฤติที่เรียบร้อยว่า 'พราหมณ์' ในทางศาสนาเพื่อสื่อความหมายที่ถูกต้องเกี่ยวกับลักษณะของคนในพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-บรรพพิธี
-พระศาสดา
-พระธรรมเทศนา
-การปฏิบัติในพระพุทธศาสนา
-ความหมายของพราหมณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม - พระธัมมปทุตตถูปปล้า ภาค ๔ - หน้า ที่ 161 ๘. เรื่องบรรพพิธีรูปใดรูปหนึ่ง [๒๖] [ข้อความเบื้องต้น] พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเจตวัน ทรงปรารภบรรพพิธี รูปใดรูปหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนาว่า "พาทีปุโป" เป็นต้น [พระมหาโมนูมะนอพพระพุทธศาสนา] ได้ยินว่า พรหมคนหนึ่ง บงแล้ว ด้วยการบงในภายนอก (พระศาสนา) คิดว่า "พระสมณโคดม เรียกสาวกของพระองค์ว่า 'บรรพพิธี,' ส่วนเราก็เป็นบรรพพิธี, การที่พระองค์เรียกเราอย่างนั้น บ้าง ก็อาจ" แล้วเข้าไปเฝ้าพระศาสดา ทูลถามเนื้อความนั้น พระศาสดา ตรัสว่า "เราหาเรียกว่า 'บรรพพิธี' ด้วยเหตุ เพียงเท่านี้ไม่, ส่วนบุคคลอื่นว่าเป็นบรรพพิธี เพราะความที่มลทิน คือเลลสทั้งหลายอดนตนไม่ได้" ดังนี้แล้ว ตรัสพระคาถาว่า:- "บุคคลมีบาปอันลอยแล้วแล เราเรียกว่า 'พราหมณ์,' บุคคลที่เราเรียกว่า 'สมณะ' เพราะความประพฤติเรียบร้อย, บุคคลขันไบ มลทินของตนอยู่ เพราะเหตุนั้น เราเรียกว่า 'บรรพพิธี.'" [[แก้วรอบ] บรรดาคนเหล่านั้น กล่าวว่า สโมริยะ คือ เพราะความประพฤติ ระงับชื่ออคุตรรมทั้งปวง. * พระมหาชาลี ป. ๓ วัดอมฤตวาส แปล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More