ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - พระฐีปิฏ๙ ศักด๙ แปลกภาค ๙. หน้าที่ 221
เขาเย้ยกับท่าน จึงกล่าวว่า "ผู้มีอายุ ผ้าสํุกาถาวรหรือสั้นหยาบ หรือรายละเอียดนั้นเองเลย"
พระอีถอนกล่าวว่า "ผู้มีอายุทั้งหลาย ผ้าสํุกาถาวรหรือสั้นหยาบหรือเอาเดียด กึ่งสำแดง. ความอาลัยในผ้าสํุกาถาวรนั้นของผม ไม่มีผมถือเอาด้วยความสำคัญว่าสําคัญ (ต่างหาก)."
ภิญญาทั้งหลาย ฟังก็นั่นแล้ว กราบทูลแด่พระตาถว่า "พระ-เจ้าข้า ภิกษุนนั้น กล่าวคำจริง, ธรรม dialog พระอีถอนพึ่งหลาย ย่อมไม่ถือเอา สิ่งของ ๆ คนหล่ออื่น" ดังนี้แล้ว ตรัสพระคาถาว่า:-
"*ผู้ใด ไม่นือเอาองยาวหรือสั้น น้อยหรือใหญ่*"
งามหรือไม่งาม อันเขาไม่ให้แล้ว ในโลกนี้ เรา เรียกผู้นั้นว่า เป็นพรหมมัน."
[แปลกอรรถ]
พึงทราบเนื้อความแห่งพระคาถานี้ ดังนี้:- ความว่า บุคคลใด ยอมไม่ถือเอาสิ่งของยาวหรือสั้น บรรดาวัตถุ ทั้งหลายย่อมมีผ้าสุกาถาวรและเครื่องประดับเป็นต้น น้อยหรือใหญ่ บรรดาวัตถุ ทั้งหลาย มีแก่มี่และแก่มูกูกเป็นต้น งานหรึไม่งาม ด้วยอำนาจแห่ง
๑. ตุตสุตโก---- อุตโท นิอาจะแปลได้ฉันใดหนึ่งว่า เนื้อความว่า---- ดังนี้ เป็นเนื้อ ความแห่งคำอันเป็นพระคาถานั้น ๆ