พระธรรมบทฉบับถูกแปล ภาค ๓ - หน้า ที่ 183 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 185
หน้าที่ 185 / 304

สรุปเนื้อหา

ในข้อความนี้พูดถึงการอภิปรายในพระธรรมบท โดยมีการชี้ให้เห็นว่าผู้ที่ได้รับรู้และถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับธรรมะถือเป็นพรามณ์ที่มีบทบาทสำคัญในการนำเสนอความเข้าใจในหลักธรรมและการมีชีวิตที่ละเอียด. การเรียกชื่อผู้เจริญธรรมช่วยให้เกิดการมองเห็นความจริงและเล็งเห็นถึงคุณค่าของบรรดาธรรมชาติต่างๆ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น และสนับสนุนการเจริญเติบโตทางจิตใจของมหาชน.

หัวข้อประเด็น

-การอภิปรายในพระธรรมบท
-ปรัชญาแห่งการเป็นพรามณ์
-การมองเห็นความจริงในชีวิต
-การเจริญธรรมและกิเลส

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมบทฉบับถูกแปล ภาค ๓ - หน้า ที่ 183 [แก่อรรถ] บรรดาบทเหล่านั้น กล่าวว่า โยนูชิ ได้แก้ ผู้อภิปรายแล้วแต่ค้าน. บทว่า มุตติสมุทัง ความว่า ผู้อภิปรายแล้วในถ้องอันเป็นของมืออยู่ แห่งมรรคคาฯเป็นพรามณ์. บทว่า โภวาที ความว่า ก็เขาเช้ายกว่าล่าวอยู่ว่า "ผู้เจริญ ผู้เจริญ" ในคำที่ร้องเรียกกันเป็นต้น ย่อมเป็นผู้ชื่อว่า โภวาที เขาและ ยังเป็น ผู้มีกระเสริฐงวด ด้วยกิเลสเครื่องงั่วงาวทั้งหลายมีราคะเป็นต้นนะ; แค่ เราเรียกผู้อื่นว่าเครื่องงั่วงาว ด้วยกิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นอาทิ ผู้ไม่ ถือมันด้อุปทาน ๔ ว่า เป็นพรามณ์. ในกลางบเทนพร พรามณ์นั้น ตั้งอยู่ในโสดาปัตติผลแล่ง. เทนาได้รับประโยชน์แก่มหาชนผู้ประกุบนแล้ว ดังนี้แหละ. เรื่องพรามณ์คนใดคนหนึ่ง จบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More