พระธรรมปิฎกฐาควาแปล ภาค ๙ หน้า 112 พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 114
หน้าที่ 114 / 304

สรุปเนื้อหา

บทความนี้อธิบายถึงปีติและปราโมทย์ซึ่งเป็นอารมณ์ที่นำไปสู่ความสุขและการรู้แจ้งในพระธรรม นอกจากนี้ยังพูดถึงคำสอนจากพระคาถาในพระสนานที่เน้นความสำคัญของการพัฒนาจิตใจและการประพฤติตามหลักธรรมที่สืบมา อันจะนำมาซึ่งความสงบสุขและความบริสุทธิ์ของชีวิต การทำความเข้าใจในธรรมะนี้ช่วยในการพัฒนาตนให้เป็นบัณฑิตที่แท้จริง

หัวข้อประเด็น

-ปีติและปราโมทย์
-พระธรรมปิฎก
-การประพฤติปฏิบัติในธรรม
-ธรรมะที่นำไปสู่ความสุข
-การพัฒนาจิตใจในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปิฎกฐาควาแปล ภาค ๙ - หน้าที่ 112 บทว่า อรติ ความว่า เมื่อมนุษย์พร้อมทั้งปัจจัย เป็นสภาว ปรากฏดังนี้อยู่ ปีติและปราโมทย์ที่เกิดขึ้นแล้วนั้น ชื่อว่า เป็นอรติ ของท่านผู้ทั้งหลาย คือ ของผู้เป็นบัณฑิตโดยแท้ เพราะความที่เป็น และปราโมทย์เป็นธรรมให้สวดจิตอมตมานานนาน บทพระคาถาว่า ตุตรายามิ ภควา คือ นี่เป็นเบื้องต้น คือ ปีติและปราโมทย์ เป็นฐานะมีในเบื้องต้นในอุตมธรรมมัน สองบทว่า อิทธิ ปญฺญสุตฺต คือ แก่นิผู้กล่าวในพระสนานี้ บัดนี้ พระสนาน เมื่อจ จะทรงแสดงฐานะอันมีในเบื้องต้นที่ พระองค์ตรัสว่า “อาทิ” นั้น จึงตรัสคำเป็นต้นว่า “อินทุรฤคูติ” จริงอยู่ ปรารุษกิสิฏ คือว่า เป็นฐานะมีในเบื้องต้น ความสำราญอำนิสงส์ ชื่่อว่า อนุจริฏคุตฺต ในพระคตานั้น ความสนิทโดยอัตจจ์ ชื่่อว่า สนุกจีติ อาชีวปริสุทธิ์ศีลและ ปัจจัยสนิทศีล พระศาสตราสรั้วไว้ว่าว่า สนุกจีติ นั้น ความเป็นผู้ทำให้บริสุทธิ์ในศีลที่ประเสริฐสุด กล่าวคือพระปาฏิ โมกข์ พระศาสตราสรั้วไว้ ด้วยนึกว่า ปาฏิญญข. บทว่า มิตตฺ ภสสฺส กลฺยาณ ความว่า ท่าน ละสายผู้ไม่สมควร มีร่างงานอันสะละแล้ว จงบ คือ จงเสมิดรี งาม ผู้ชื่อว่า อมิซวีระอันสุทฺธิ์ เพราะมีชีวิตประกอบด้วยสาระ และชื่อว่า ผู้ไม่เกี่ยวก้อง เพราะอาศัยกำลังแห่งชีวิตชพ. บทว่า ปฏิสมนฺอารมณูสง คือ พึงเป็นผู้ชื่อว่า ประพฤติในปฏิสันฺถวาร เพราะความเป็นผู้ประกติเต็มที่แล้วด้วยอามส-
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More