การเตือนตนในพระธรรม พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 123
หน้าที่ 123 / 304

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ พระศาสดาได้สอนภิกษุถึงความสำคัญของการเตือนตนเองและการพิจารณาสุขภาพทางจิตใจ เพื่อไปสู่ทางธรรมที่ถูกต้อง โดยสอนให้ภิกษุสามารถปกครองตนเองได้อย่างมีสติและพิจารณาคุณธรรมภายในตนให้ดี บทเรียนนี้สื่อถึงแนวทางในการพัฒนาตนเอง และทำให้มีจิตสำนึกในการดำเนินชีวิตตามธรรมของพระศาสนา ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเข้าถึงสภาวะอรหัตผลในอนาคต

หัวข้อประเด็น

-การเตือนตน
-การพิจารณาคุณธรรม
-การปกครองตน
-บทเรียนจากพระศาสดา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคท - พระธรรมปทุมฺถูฏกแปล ภาค ๔ - หน้าที่ 121 ฉะนั้น ผมจึงไม่ไป ภิกษุทั้งหลาย ฟังคำตอบนั้นแล้ว เข้าใจว่า "ภิกษุนี้ พูดไม่จริง พยายามพระอรหัตผล" ดังนี้แล้ว จึงกราบลูบเนื้อความนั้นแค่พระ ศาสดา. [ภิกษุควรเป็นผูเตือนตน] พระศาสดา ตรัสว่า "เออ ภิกษุทั้งหลาย นังลูกฺบุตรของเรา เตือนตนด้วยตนเองแล้ว และจึงถึงที่สุดของกรรมของบรรพชิต" ดังนี้แล้ว เมื่อจะทรงแสดงธรรม ได้ทรงภาษิตพระคาถานี้ว่า: "เธอจงตักเตือนตนด้วยตน, จงพิจารณาดูคุณ นั่นด้วยตน, ภิกษุ เธอนั้น มิติสติ ปกครองตน ได้แล้ว ถืออยู่สบาย ตนเหลาะ เป็นนาคะ ของตน, ตนเหลาะ เป็นคติของตน; เพราะ ฉะนั้น เธอจงสงตนให้เหมือนอย่างพ่อค้าม้า สงวนม้าตัวเจริญตาของนั่น." [แก้วรถ] บรรดาบทเหล่านี้ นบทว่า โขทูฏตน ความว่า จงตักเตือน ตนด้วยตนเอง คือ จงเตนให้รู้สึกด้วยตนเอง บทวา ปฏิมาส คือตรวจจุดดูด้วยตนเอง บทวา โว เป็นต้น ความว่า ภิกษุ เธอนั้น เมื่อเตักเตือน พิจารณาดูตนอย่างนั้นอยู่ เป็นผู้ชื่อว่า ปกครองตนได้ เพราะความ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More