เรื่องภูมิพราหมณ์ พระธัมมปทัฏฐกถา แปลภาค 8 หน้า 175
หน้าที่ 175 / 304

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหาเกี่ยวกับภูมิพราหมณ์ กล่าวถึงคำสอนของพระสุลาเกี่ยวกับความหมายแท้จริงของคำว่า 'พราหมณ์' โดยเน้นว่าความเป็นพราหมณ์ไม่ขึ้นอยู่กับเชื้อชาติหรือโคตร แต่ขึ้นอยู่กับสังจะและธรรมที่มีอยู่ในตัวบุคคล โดยเฉพาะในช่วงที่พระสุลาได้ให้พระธรรมเทศนากับพราหมณ์คนหนึ่ง ซึ่งตั้งคำถามเกี่ยวกับการเรียกตนว่า 'พราหมณ์'.

หัวข้อประเด็น

- ความหมายของพราหมณ์
- พระธรรมเทศนาของพระสุลา
- ความสำคัญของสังจะและธรรม
- การวิเคราะห์ลักษณะของพราหมณ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระรัฐมาธิวาส แปลกวา ๙ หน้า ที่ 173 ๑๐. เรื่องภูมิพราหมณ์ [๒๒๓] [ข้อควาเมื่อนั้น] พระสุลา เมื่อปรับอยู่ในพระเจตวัน ทรงปรารถนาภิฤทธิ์ พราหมณ์คนหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนาว่า "ม ชฎิ" เป็นต้น. [ภูมิธ้องการให้รัสเรียกตนว่าพราหมณ์] ได้ยินว่า ภูมิพราหมณ์นั้น คิดว่า "เราเกิดแล้วทั้งฝ่ายม guess ทั้งฝ่ายบิดา เกิดในตรุษพราหมณ์ ถ้าพระสนโคมดรัสเรียก พระสาวทั้งหลายของพระองค์ว่า "พราหมณ์,' การที่พระองค์ตรัส เรียกเรางั้นบ้าง ก็อาจจะ ดังนี้แล้ว จึงไปยังสำนักพระสุลา ฤดาคมเนื้อความนั้น. [ลักษณะแห่งพราหมณ์] ครั้งนั้น พระสุลา ตรัสละพราหมณ์นั้นว่า "พราหมณ์' เราไม่ เรียกว่า 'พราหมณ์' ด้วยเหตุว่าภูาา ไม่เรียวยด้วยเหตุว่าชาติ และโคตร แต่เราเรียกผู้อื่นว่าอันแทนตลอดแล้วนั่นว่า "เป็น พราหมณ์' ดังนี้แล้ว ตรัสพระคาถานี้ว่า:- "บุคคลอ่อนเป็นพราหมณ์ ด้วยภูมิา ด้วย โคตร ด้วยชาติ หามิได้ สังจะและธรรมมีอยู่ ในภูใด ผู้นั้น เป็นผู้สะอาด และผู้นั้นเป็น พราหมณ์." * พระมหาชาลี ป. ธ. ๓ วัดบรมวาส แปล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More